ทวิลักษณ์ในงานภาพกับลายลักษณ์อักษร ที่ซึ่งจินตนาการและสุนทรียภาพอุบัติพร้อม

 

1ศิริชัย ศิริกายะ และ กฤษณ์ ทองเลิศ. (2560). ทวิลักษณ์ในงานภาพกับลายลักษณ์อักษร ที่ซึ่งจินตนาการและสุนทรียภาพอุบัติพร้อม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 7-10.   ทวิลักษณ์ในงานภาพกับลายลักษณ์อักษร ที่ซึ่งจินตนาการและสุนทรียภาพอุบัติพร้อม  Duality in Image-text Where Imagination and Aesthetic Simultaneously Appear

เจ้าของผลงาน       :  รศ.ดร.ศิริชัย  ศิริกายะ และ รศ.กฤษณ์ ทองเลิศ

บทคัดย่อ                :  ลักษณะทวิลักษณ์ (Duality) ของงานภาพกับลายลักษณ์อักษร เป็นคุณลักษณะของรูปสัญญะที่แสดงคุณสมบัติได้ทั้งสัญลักษณ์ภาพ (Figurative symbol) และสัญลักษณ์ทางภาษา (Discursive symbol) ในเวลาเดียวกัน ในทางตรงข้ามเมื่อการตีความข้ามพ้นไปจากจิตที่แบ่งแยกระหว่างระบบภาพและภาษา การรับรู้ความเป็นทวิลักษณ์จะเลือนหาย
ไปก่อเกิดเป็นมิติใหม่ที่ข้ามก้าวสถานการณ์ (Situation shift) ของการสื่อความหมาย สู่โลกของคุณค่าและสุนทรียภาพอันเป็นอุบัติการณ์ใหม่ กลายเป็นรูปลักษณ์ของงานการสื่อสารที่ “พ้นภาษา” ด้วยคุณลักษณะดังกล่าวจึงทำ ให้วิธีการตีความหมายแตกต่างไปจากจารีตทางการสื่อสารแบบเดิม  บทความนี้มุ่งเน้นการอธิบายลักษณะการประกอบสร้างและการตีความสารที่มองแบบระดับพื้นผิว จะเห็นว่ามีลักษณะทวิลักษณ์ โดยตั้งอยู่บนขอบเขตที่ไม่ชัดเจนระหว่างการสื่อความหมายผ่านไวยากรณ์ด้านภาพและภาษา ทั้งยังเป็นงานที่สื่อสารสนเทศร่วมกับจังหวะอารมณ์และความงามอย่างน่าสนใจ มีศักยภาพในการยั่วยวนให้คนดูเข้ามามีส่วนร่วมและแบ่งปันประสบการณ์เพื่อรังสรรค์คุณค่าและสุนทรียภาพที่มีพลังในการกระตุ้นปฏิสัมพันธ์ทางการสื่อสารได้ตรง
ใจคนแต่ละคน

คำสำคัญ                : ทวิลักษณ์, งานภาพกับลายลักษณ์อักษร, จินตนาการ, สุนทรียภาพ

Abstract              :  The duality of image-text is the co-existence of figurative and discursive symbols. As a result of this duality, the psychological interpretation has lost the perception of the duality of image and text. It is a situational shift of signification. The new aesthetical and original work values have suddenly appeared to a new form of communication work, and the new interpretation occurs. This article places an emphasis on describing the construction and interpretation of the duality of image-text. This is due to the ambiguity between the signification of image and language rules. It is also interesting by the ambiguity from the combination among information, emotion and beauty. Therefore, the seductive potential to the audience has occurred and in turn is, shared in order to create the experience. As a result, the power of stimulating the communicative interactions occurs. This advertising work has creative and aesthetic values. Finally, it tactiles to the minds of each individual person.

Keywords           : Duality, Image-text, Imagination, Aesthetic

Download PDF :  ทวิลักษณ์ในงานภาพกับลายลักษณ์อักษร ที่ซึ่งจินตนาการและสุนทรียภาพอุบัติพร้อม


Publication        :   วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 21 ปี 2560   Siam Communication Review Vol.16 N21 2017

Link to Publication:  https://e-library.siam.edu/e-journal/article/siam-communication-review-vol16-no21-2017/

Bibliography     :  ศิริชัย ศิริกายะ และ กฤษณ์ ทองเลิศ. (2560). ทวิลักษณ์ในงานภาพกับลายลักษณ์อักษร ที่ซึ่งจินตนาการและสุนทรียภาพอุบัติพร้อม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 7-10.


คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ผลงานวิชาการอื่นๆ  :    รศ.ดร.ศิริชัย  ศิริกายะ

ศิริชัย ศิริกายะ และ สมเกียรติ ศรีเพชร. (2561). การใช้รหัสของสติ๊กเกอร์ไลน์เพื่อการสื่อสารระหว่างบุคคล. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 17(22), 97-105.

ศิริชัย ศิริกายะ และ กฤษณ์ ทองเลิศ. (2560). ทวิลักษณ์ในงานภาพกับลายลักษณ์อักษร ที่ซึ่งจินตนาการและสุนทรียภาพอุบัติพร้อม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 7-10.

ศิริชัย ศิริกายะ และ สมเกียรติ ศรีเพชร. (2560). การใช้รหัสของสติ๊กเกอร์ไลน์ในการสื่อสาร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 171-183.

ศิริชัย  ศิริกายะ และ ลัทธสิทธิ์ ทวีสุข. (2560). การสื่อสารด้วยลายเส้นเพื่อบ่งบอกถึงลักษณะดีหรือร้ายของตัวการ์ตูนเฉพาะเรื่องที่คัดสรร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(20), 23-34.

ศิริชัย  ศิริกายะ, สุธี พลพงษ์ และ เจตน์จันทร์ เกิดสุข. (2560). จังหวะของการสื่อสารในรายการโทรทัศน์ประเภทเรียลลิตีเกมส์โชว์ที่คัดสรร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(20), 57-65.

ศิริชัย ศิริกายะ. (2559). ทฤษฎีควอนตัมฟิสิกส์กับการควบรวมและการแปลงรูปองค์ประกอบการสื่อสารในยุคดิจิทัล. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 7-9.


วารสารนิเทศสยามปริทัศน์  Siam Communication Review 

คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
เลขที่ 38 ถนนเพชรเกษม เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160
โทร.0-2867-8088, 0-2868-6000 ต่อ 5409
แฟกซ์ 0-2457-3982, 0-2467-3174
E-mail: siam.communication.review@gmail.com