Study of Streptococcus pneumoniae serotype 19A blood isolates from Thailand by enterobacterial repetitive intergenic consensus (ERIC)-PCR typing (2023)

Title           : Study of Streptococcus pneumoniae serotype 19A blood isolates from Thailand by enterobacterial repetitive intergenic consensus (ERIC)-PCR typing (SCOPUS) 

Researcher       : Thitiya Yungyuena, Piriyaporn Chongtrakoola, Wanatpreeya Phongsamartb, Unchalee Puangprasarta, Chalermsri Pummangurac, Dararat Samretwitc, Somporn Srifuengfung

Link to article: ScienceAsia , Volume 49, Issue 3, pages 485-490. https://doi.org/10.2306/scienceasia1513-1874.2023.038


Journal : ScienceAsia  / in Scopus


Citation :  Yungyuena T., Chongtrakoola P., Phongsamartb W., Puangprasarta U., Pummangurac C., Samretwit D., & Srifuengfung S.. (2023). Study of streptococcus pneumoniae serotype 19A blood isolates from Thailand by enterobacterial repetitive intergenic consensus (ERIC)-PCR typing. ScienceAsia, 49(3), 485-900. https://doi.org/10.2306/scienceasia1513-1874.2023.038


ฐานข้อมูลงานวิจัย มหาวิทยาลัยสยาม            :  https://e-research.siam.edu/kb/study-of-streptococcus-pneumoniae/

Quick View

การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดการใช้ยาในงานวิจัยการใช้ยา (2561)

การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดการใช้ยาในงานวิจัยการใช้ยา (2561)

ผู้เขียนบทความ: ภญ. ดารารัตน์ สำเร็จวิทย์

บทคัดย่อ:

งานวิจัยเกี่ยวกับการใช้ยา มีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับการศึกษาทางเภสัชระบาดวิทยาในการประเมินการใช้ยาหรือการสั่งจ่ายยาในกลุ่มประชากร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล โดยเป็นองค์ประกอบของระบบยา งานวิจัยการใช้ยาเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง กระบวนการ และผลลัพธ์ของการใช้ยา โดยรูปแบบของงานวิจัยแบ่งออกเป็น งานวิจัยรูปแบบตัดขวาง การเก็บข้อมูลระยะยาว หรือรูปแบบเก็บข้อมูลต่อเนื่องระยะยาว ทั้งนี้ การเก็บข้อมูลในงานวิจัยการใช้ยามีหลายประเภท ขึ้นกับปัญหาการใช้ยาที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ เครื่องมือการเก็บข้อมูลการวิจัยมีหลายชนิด ผู้วิจัยควรเลือกวิธีการเก็บข้อมูล และใช้วิธีการแปรผลข้อมูลที่เหมาะสม ทั้งนี้ ในการประเมินติดตามผลการใช้ยา นิยมรายงานผลการเก็บข้อมูลในรูปแบบตัวชี้วัดการใช้ยา โดยชุดตัวชี้วัดแบ่งออกเป็น ตัวชี้วัดหลักและชุดตัวชี้วัดเสริม โดยตัวชี้วัดหลักอธิบายสถานการณ์การใช้ยาในด้าน พฤติกรรมการใช้ยา, การดูแลรักษาผู้ป่วย และด้านสถานพยาบาล โดยองค์การอนามัยโลกแนะนำให้ใช้หลักการ ATC/DDD ในการศึกษาข้อมูลการใช้ เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างสถาบัน ภูมิภาค หรือในระดับประเทศได้

คำสำคัญ: การวิจัยการใช้ยา drug utilization studies ตัวชี้วัดการใช้ยา

Link to Academic articleการประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดการใช้ยาในงานวิจัยการใช้ยา 

Quick View