สมรรถนะที่จําเป็นต่อการประกอบวิชาชีพของบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม (2560)

Title              : สมรรถนะที่จําเป็นต่อการประกอบวิชาชีพของบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม : Essential Competencies Required of New Graduates from Faculty of Business Administration, Siam University

Researcher       :  ดร.สัมฤทธิ์ เทียนดํา และ คณะ

Department     : คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม 10160

E-mail                : Sumrit.tia@siam.edu

บทคัดย่อ             : วัตถุประสงค์ของการวิจัยในครั้งนี้ เพื่อศึกษาสมรรถนะที่จําเป็นต่อการประกอบวิชาชีพของบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ แบบการจัดการประชุมแบบสัมภาษณ์กลุ่ม ใน 5 ภาควิชา ได้แก่ ภาควิชาการบัญชี ภาควิชาการเงินและการธนาคาร ภาควิชาการตลาด ภาควิชาการจัดการทัวไป และภาควิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ ตามกรอบแนวคิดมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติใน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ของบัณฑิต ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านคุณธรรม/จริยธรรม และกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ประกอบการ ผู้บริหารในสถานประกอบการ และศิษย์เก่าที่สําเร็จ การศึกษาและทํางานแล้ว จํานวน 25 คน
ผลการศึกษาพบว่า
1) สมรรถนะที่จําเป็นต่อการประกอบวิชาชีพของบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม ภาควิชาการบัญชี ได้แก่ ความรู้ด้านบัญชีและการเงิน การติดต่อประสานงาน ความรับผิดชอบในหน้าที่การงาน การใช้โปรแกรมสําเร็จรูปได้ดี มีความซื่อสัตย์ และรับฟังข้อเสนอแนะ 2) สมรรถนะที่จําเป็นต่อการประกอบวิชาชีพของบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม ภาควิชาการเงินและการธนาคาร ได้แก่ ความรู้ด้านการเงิน การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ การทํางานเป็นทีม การใช้โปรแกรมสําเร็จรูปได้ดี และมีความซื่อสัตย์ 3) สมรรถนะที่จําเป็นต่อการประกอบวิชาชีพของบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม ภาควิชาการตลาด ได้แก่ ความรู้ด้านการตลาด การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ การทํางานเป็นทีม การใช้โปรแกรมสําเร็จรูปได้ดี และความอดทนในการทํางาน 4) สมรรถนะที่จําเป็นต่อการประกอบวิชาชีพของบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม ภาควิชาการจัดการทั่วไป ได้แก่ มีความรู้ตรงกับงานที่ทํา มีทักษะในการสังเกตุ การวางแผนธุรกิจ การใช้โปรแกรมสําเร็จรูปได้ดี มีความซื่อสัตย์และมีคุณธรรม 5) สมรรถนะที่จําเป็นต่อการประกอบวิชาชีพของบัณฑิต คณะบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม ภาควิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ ได้แก่ ความรู้ด้านส่งออกและนําเข้า การติดต่อประสานที่ดี มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ สามารถทําการตลาดออนไลน์ได้ดี และมีความละเอียดรอบคอบ
ข้อเสนอแนะเพื่อนําผลการศึกษาไปใช้
มีแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะที่จําเป็นต่อการประกอบวิชาชีพของบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม ได้แก่ 1) การเตรียมความพร้อมให้กับบัณฑิตด้านทักษะภาษาต่างประเทศ เช่น จัดให้มีการเรียนรู้เพิ่มเติมในภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษาประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียนให้กับบัณฑิต 2) การสร้างบรรยากาศที่เหมาะสมที่ทําให้เกิดการเรียนรู้และการพัฒนาสมรรถนะของบัณฑิต 3) การวางแผนการเรียนให้รู้ให้กับบัณฑิต โดยกำหนดเป้าหมายของการเรียนรู้ให้ชัดเจน 3) การวินิจฉัยความจําเป็นของการพัฒนาสมรรถนะให้กับบัณฑิต รวมถึงการสร้างโอกาสสําหรับการปรับปรุ งพัฒนาตนเองของบัณฑิต 5) การกําหนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของการพัฒนาสมรรถนะของบัณฑิต ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ประกอบการ 6) การออกแบบแผนการเรียนรู้ให้กับบัณฑิตที่เหมาะสม เพื่อมุ่งสร้างสมรรถนะด้านความรู้ประสบการณ์ชีวิตให้กับบัณฑิต 7) การปรับปรุงหลักสูตรให้เหมาะสมกับความต้องการของบุคคล และสภาพสังคม จัดให้มีการเรียนการสอนวิชาการตลาดดิจิทัล วิชาการเป็นผู้ประกอบการ ธุรกิจสตาร์อัพ วิชาภาษาอาเซียน (CLMV) วิชาประสบการณ์ชีวิต และวิชาการสร้างนวัตกรรมใหม่ในกลุ่มวิชาแกนเพิ่มด้วย 8) มีการจัดกิจกรรมเพื่อใช้ในการพัฒนาสมรรถนะทางด้านการทําธุรกิจสมัยใหม่ เช่น กิจกรรมการฝึกอบรมในวิชาชีพ การมอบหมายงานจริงให้ปฎิบัติ การจัดตั้งชมรมผู้ประกอบการ และการจัดตั้งบริษัทจําลอง และ 9) มีการประเมินผลการพัฒนาสมรรถนะของบัณฑิต โดยประเมินทั้งเป็นแบบทางการ และแบบไม่เป็นทางการ เพื่อใช้ในการเปรียบผลลัพธ์กับเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ และการสังเกตพฤติกรรมของบัณฑิตระหว่างการพัฒนา เช่น การมีส่วนร่วม ความเอาใจใส่ ความตั้งใจ และความกระตือรือร้น

Abstract            :  The objective of this research was to study the essential competencies required of new graduates from the Faculty of Business Administration, Siam University by using the qualitative research method and group interviews in the five undergraduate degree programs: Accountancy, Finance and Banking, Marketing, General Management, and International Business Management. It was based on the standard conceptual framework of the National Qualifications Framework for Higher Education in Thailand in the five domains: knowledge of graduates, intellectual skills, interpersonal skills and responsibilities, analytical and communication skills and ethical and moral. The informants (population) consisted of 25 entrepreneurs who were in executives’ positions, and the alumni of Siam University.

The results of this study showed that 1) the essential competencies required of new graduates from the Faculty of Business Administration, Siam University in Accountancy program were the knowledge in accounting and finance, the coordination, and responsibility competencies, ability to use specific computer softwares in the field, be honest and listen to the suggestions; 2) the essential competencies required of new graduates from the Faculty of Business Administration, Siam University in Finance and Banking program were the knowledge of finance, the systematic problem-solving skill, teamwork skill, ability to use specific computer softwares in the field, and be honest; 3) the essential competencies required of new graduates from the Faculty of Business Administration, Siam University in Marketing program were the knowledge in marketing, the systematic problem-solving skill, teamwork skill, ability to use specific computer softwares in the field, and be patient to work; 4) the essential competencies required of new graduates from The Faculty of Business Administration, Siam University in General Management program were the knowledge of the area, the observative habit, ability to prepare business planning, ability to use specific computer softwares in the field, be honest and have virtue; 5) the essential competencies required of new graduates from The Faculty of Business Administration, Siam University in International Business Management program were the knowledge in international business, e.g. import and export, the coordinating competency and responsibilities, digital marketing skills, and thoroughness and accuracy habit. Suggestions for applying research findings in the development of the essential competencies required of new graduates from faculty of business administration, Siam University were 1) to enhance foreign language skills of the graduates, such as providing additional courses in English, Chinese and ASEAN languages; 2) to create appropriate atmosphere for learning and developing; 3) to set study plan with clear goal for undergraduate students; 4) to analyze the need of competency development for graduates including to create opportunities for self improvement; 5) to define the objectives or goals of the competency development for the programs to meet the need of entrepreneurs; 6) to design the appropiate learning plan to build the knowledge competency of life experience for graduates; 7) to improve the appropriate curriculum to meet individual needs and social conditions. Digital marketing subject, Startup business entrepreneurs subject, ASEAN language (CLMV), life experience subject and new innovation subject were recommended to add in the core subjects; 8) activities for the competency development of modern business such as professional training, the assignment of the actual job to perform, the establishment of entrepreneurial clubs and the establishment of a simulation company were suggested; and 9) evaluate competency development both formally and informally to compare the results with the goals; and observe the students’ behavior such as participation, attention, willingness and enthusiasm to learn throughout the semester. 

Donwload PDF  :  รายงานการวิจัย เรื่อง สมรรถนะที่จําเป็นต่อการประกอบวิชาชีพของบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม


Bibliography     :   สัมฤทธิ์ เทียนดํา, พิเชษฐ์ มุสิกะโปดก, เปรมจิต พรหมสาระเมธี, กิตติชัย ถาวรธรรมฤทธิ์, วิบูลย์ ชินบูรพา, สมพร ปานยินดี, … พิจักษณ์ จันทวิโรจน์. (2560). สมรรถนะที่จําเป็นต่อการประกอบวิชาชีพของบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.


 

Quick View
สยามวิชาการ-siam academic review-มหาวิทยาลัยสยาม-ปีที่18ฉบับที่30-มีนาคม-กรกฎคม-2560

องค์ประกอบปัจจัยทางการตลาดและพฤติกรรมการซื้อ ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของวัยรุ่นในเขต กรุงเทพมหานคร (2560)

 

[mfn]วราภรณ์ ลิ้มเปรมวัฒนา และ เอกภพ มณีนารถ.  (2560).  องค์ประกอบปัจจัยทางการตลาดและพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร.  สยามวิชาการ, 18(30)72-92.[/mfn]    องค์ประกอบปัจจัยทางการตลาดและพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร
วราภรณ์ ลิ้มเปรมวัฒนา และ เอกภพ มณีนารถ

อาจารย์ประจําภาควิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม


Abstract: The research on “Marketing Factors and Purchasing Behavior of Environmentally Friendly Products of Teenagers in Bangkok Metropolitan Area” has the objective for 1) studying
the marketing factor effective to the purchase of environmentally friendly products of teenagers in Bangkok Metropolitan Area 2) studying the purchasing behavior of environmentally friendly products of teenagers in Bangkok Metropolitan Area. The samples used in this research are 400 teenagers having their ages in between 15 – 24 years old living in Bangkok Metropolitan Area who purchased environmentally friendly products. The statistics used in the data analysis are percentage, mean, standard deviation, and factor analysis. The result of the research found that the marketing factors used in deciding to purchase the environmentally friendly products consisted of 3 factors, they are 1) Product, brand, and packaging, 2) Promotion and how to pay money in different forms, and 3) Reasonable prices and purchasing convenience.

Keywords:  Marketing Factors, Purchasing Behavior, Environmentally Friendly Products, Teenagers


Bibliography: วราภรณ์ ลิ้มเปรมวัฒนา และ เอกภพ มณีนารถ.  (2560).  องค์ประกอบปัจจัยทางการตลาดและพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร.  สยามวิชาการ, 18(30)72-92.


สยามวิชาการ ปีที่18 ฉบับที่30 ปี 2560

Quick View
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา-ปีที่26-ฉบับที่51-2561

อิทธิพลของศักยภาพในการทำงาน การสนับสนุนทางสังคม พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการเห็นคุณค่าแห่งตนที่มีผลต่อความพร้อมในการทำงานหลังเกษียณของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร

Abstract

The purposes of this research were 1) to examine the congruence of structural equation model of readiness to work of retired elderly with empirical data, and 2) to study the direct effect, indirect effect and total effect antecedents on readiness to work of retired elderly. The data were collected from five hundred elders by questionnaire. The data was analyzed in term of structural equation modeling. The results showed as following: the structural equation modeling of readiness to work of retired elderly was congruent with the empirical data (x2 = 646.978, df = 266, p = 0.000, x2/df = 2.432, GFI = 0.903, TLI = 0.925, CFI = 0.933, RMSEA = 0.054, Critical N = 236); work potentiality, social support, self care behaviors and self esteem accounted for the variance of readiness to work of retired elderly by 71 percent. Self care behaviors, self esteem and work potentiality had direct effect on readiness to work of retired elderly respectively. In addition, social support, self care behaviors and work potentiality had indirect effect on readiness to work of retired elderly respectively.


งานที่อ้างถึง

สมพร ปานยินดี. (2561). อิทธิพลของศักยภาพในการทำงาน การสนับสนุนทางสังคม พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการเห็นคุณค่าแห่งตนที่มีผลต่อความพร้อมในการทำงานหลังเกษียณของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 26(51), 46-69.


The Influence of Work Potentiality, Social Support, Self Care Behaviors and Self Esteem on Readiness to Work of Retired Elderly in Bangkok

Quick View
วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร-VOL 38 NO 1 (2561)

แบบจำลองสมการโครงสร้างเพื่อการทำนาย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอองค์ความรู้การวิเคราะห์สมการโครงสร้างเพื่อการทำนาย ด้วยข้อมูลของตัวแปรสังเกตได้หลายๆ ตัวแปร ที่สามารถทำนายที่ส่งผลหรือมีอิทธิพลต่อตัวแปรแฝง (latent variable) ที่ตัวแปรแฝงนั้นวัดได้จากตัวบ่งชี้ ได้หลายตัวแปร ขั้นตอนการการวิเคราะห์แบบจำลองสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling: SEM) ที่เริ่มด้วยการนำข้อมูลจากโปรแกรม Statistical Package for the Social Science for Windows (SPSS) และทำการวิเคราะห์แบบจำลองสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling: SEM) ด้วยโปรแกรม LISREL หรือ Analysis of Moment Structure: AMOS ที่ต้องมีขั้นตอนสำคัญ ได้แก่ การเตรียมข้อมูลดิบ การระบุ โมเดลหรือวาดภาพโมเดลจากการวิจัย การกำหนดการแสดงผลการวิเคราะห์ การวิเคราะห์โมเดล และการปรับโมเดล โดยค่าสถิติที่ได้จากการแสดงผลของตัวแปรสังเกตได้ที่มีผลต่อตัวแปรแฝง (latent variable)


Abstract

The objective of this article was to present the structural equation modeling for prediction based on observable variables which can predict or have effects on latent variables. The analysis of the structural equation modeling (SEM) starts from retrieving data from statistical package for the social science for Windows (SPSS), analyzing the structural equation modeling (SEM) using LISREL or Analysis of Moment Structure (AMOS). The necessary steps include preparing raw data, constructing a model or picturing a model based on research, deciding model presentation, analyzing the model, and adjusting the model based on the statistics of observable variables which have effects on latent variables.


งานที่อ้างถึง

รุ่งโรจน์ สงสระบุญ. (2560). แบบจำลองสมการโครงสร้างเพื่อการทำนาย. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 185-205.

Structural equation modeling for prediction

Quick View