วารสารวิชาการ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย-ปีที่21-ฉบับที่2-ธค-2558

The Mediation Factors Influencing Adoption of Social Networking Technology into 21st Century Education: A Review of the Iiteratures

 

Title              :   The mediation factors influencing adoption of social networking technology into 21st century education: A review of the literatures

Researcher       :  Dr.Tanakorn Limsarun
Department      :  Master of Business Administration, Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                 : dr.tanakorn@siam.edu

Abstract            :  Nowadays, more than a billion individuals around the world are connected and networked together in the digital environment in order to create, collaborate and contribute their knowledge, wisdom. One of the potential tools to connect with other people on a massive scale is a social networking website or social media. Moreover, it has been rapidly adopted by people worldwide; enabling the opportunities for learning, presenting and construction of relationship among the members and it is one of the most widespread adoptions in a new generation of 21st century education. Before there is no place for lecturing in the 21st century classroom, educational institutions have to adapt themselves to compete in the new era of education also have to find the efficient ways to reach their target students, when used social media tools appropriately and wisely, teacher, students and classrooms are transformed into the rich interactive environment. The documentary research method has been adopted in this academic paper. The finding has shown that educational institution factors which are organizational culture, management support, Intellectual property and organizational policies; teaching factors which are content, method, process, technology proficiency, training and knowledge of resource; personal factors which are technology proficiency, experience, attitude, motivation and confidence play an important roles toward the success of adopting social networking in 21st century educations.

Key words         :  Management Information System, Social Networking and 21st Century Education


Publication        : วารสารวิชาการ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยฯ ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 ธันวาคม 2558     Apheit Journal Vol.21 No.2 December 2015  

Link to Publication:    http://apheit.bu.ac.th/index.php?id=135

Download PDF  : The mediation factors influencing adoption of social networking technology into 21st century education: A review of the literatures

Bibliography     : Tanakorn Limsarun. (2015). The mediation factors influencing adoption of social networking technology into 21st century education: A review of the literatures.  Apheit Journal,  21(2), 124-132. 


Quick View
วิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย-ปีที่4-ฉบับที่2-กค-ธค-2558

The Sustainability of Small and Medium-sized Enterprises (SMEs) in A Digital Economy Era

 

Title              : The Sustainability of Small and Medium-sized Enterprises (SMEs) in A Digital Economy Era

Researcher       :  Dr.Tanakorn Limsarun
Department      :  Master of Business Administration, Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                 : dr.tanakorn@siam.edu

Abstract            : In an economic downturn, the adoption of digital economy and utilization of Information Technology with Small and Medium-sized Enterprise (SMEs) seem to be increasingly important and becoming a new foundation for entrepreneurs today.These are believed to offer a number of advantages regarding the effi ciency, effectiveness, and innovation across the business functions which can lead to more productivities and new opportunities in the market. This will directly induce a great number of new entrepreneurs in the market, removing market barriers and enhance the competitive advantages especially from the SMEs sector – the backbone of the economy in most countries. However, it is not a straightforward task. On one hand, myriads of new entrepreneurs are enjoying the new opportunities that their older generations never had and at the same time their customers are also adjusting their consumption behavior from the old ways to the digital ways very well. On the other hand, researches have found that most SMEs still face the problems in relation to how they can digitize their business structures and functions such as fi nance, marketing and human resources and above all international cooperation. Therefore, this paper aims to highlight key success factors and provide a guideline for SMEs how to start successfully in the key emerging markets as well as introduce key sustainability factors in a digital economy era. The fi ndings of this research should prove valuable to any size of businesses and create a greater awareness of the advantages of the digital economy and business sustainability of SMEs. In sum, it was shown that SME entrepreneurs had to carefully consider the relevant organizational and individual factors as well as the degree of innovation adoption in the organization in order to warrant their business successes in this post-modern business era, the digital economy.

Key words         :  Sustainability, Small and Medium-sized Enterprises (SMEs), Digital Economy


Publication        : วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยฯ ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2558

                                  Journal of Business Administration The Association of Private Higher Education Institutions of Thailand  Vol.4 No.2 Jul-Dec 2015  

Link to Publication:    https://www.tci-thaijo.org/index.php/apheitvu/issue/view/8163

Download PDF  : The Sustainability of Small and Medium-sized Enterprises (SMEs) in A Digital Economy Era

Bibliography     : Tanakorn Limsarun. (2015). The sustainability of small and medium-sized enterprises (SMEs) in a digital economy era.  Journal of Business Administration The Association of Private Higher Education Institutions of Thailand,  4(2), 113-124. 


Quick View
วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย-ปีที่7-ฉบับที่1-มค-มิย-2561

การสื่อสารทางการตลาดดิจิทัลสู่การใช้บริการแอปพลิเคชันรถยนต์รับจ้างในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

 

Title              :  การสื่อสารทางการตลาดดิจิทัลสู่การใช้บริการแอปพลิเคชันรถยนต์รับจ้างในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย: DIGITAL MARKETING COMMUNICATIONS TOWARD TAXI SERVICE APPLICATIONS IN BANGKOK, THAILAND

Researcher       :   ดร.ธนกร ลิ้มศรัณย์ Dr.Tanakorn Limsarun
Department     :  Master of Business Administration, Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                : dr.tanakorn@siam.edu

Abstract            : This research aimed (1) to study digital marketing communication toward taxi service applications in Bangkok Thailand (2) to analyze the relationship model of digital marketing communication and decision to use the taxi service application (3) to analyze the digital marketing communication influencing factors toward consumer’s decision. There were 400 samples that have been used taxi service applications service in Bangkok. The samples were selected by purposive sampling method, the online questionnaire was a research tools. The research data was analyzed by descriptive statistics which are average percentage and standard deviation. Moreover, Pearson Product-Moment Correlation Coefficient and multiple linear regressions with stepwise were adapted to identify a correlation. The results of study have shown demographic data that the majority of samples were male, 18 – 25 years old, graduated in Bachelor’s degree, private company employees, and average monthly income ranging from 20,001 – 30,000 Baht. The samples used taxi service application because they need the transportation service to their workplace, availability and ubiquitous service. While most of the samples used taxi service application 3 – 5 times per month and most of the service was on every Monday at 7am – 9am. Thus, the digital marketing communications have been related to the decision to used taxi service application in Bangkok Thailand as shown by a multiple linear regression equation. Decision Making Service = 0.394 Digital Media Promotion + 0.325 Perceptual + 0.297 Perceived Benefit – 0.104 Digital Advertising. Moreover, the consumer’s decision to used taxi service application in Bangkok was effected by four aspects of the digital marketing communication at 68.5 percent in Bangkok was effected by four aspects of the digital marketing communication at 68.5 percent.

Key words         :  Digital marketing communication, taxi service application Decision making


Publication        : วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยฯ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2561

                               Journal of Business Administration The Association of Private Higher Education Institutions of Thailand  Vol.7 No.1 Jan-Jun 2018

Link to Publication:    https://www.tci-thaijo.org/index.php/apheitvu/issue/view/10347

Download PDF  : การสื่อสารทางการตลาดดิจิทัลสู่การใช้บริการแอปพลิเคชันรถยนต์รับจ้างในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

Bibliography     :  ธนกร ลิ้มศรัณย์. (2561). การสื่อสารทางการตลาดดิจิทัลสู่การใช้บริการแอปพลิเคชันรถยนต์รับจ้างในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย.  วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยฯ,  7(1), 90-101. 


Quick View

ความพึงพอใจในการซื้อ เครื่องประดับเงินของ นักท่องเที่ยวชาวยุโรป ในกรุงเทพมหานคร

 

[mfn]กานต์จิรา ลิมศิริธง. (2559). ความพึงพอใจในการซื้อเครื่องประดับเงินของนักท่องเที่ยวชาวยุโรป ในกรุงเทพมหานคร. สยามวิชาการ, 17(1), 51-61.[/mfn]   ความพึงพอใจในการซื้อ เครื่องประดับเงินของ นักท่องเที่ยวชาวยุโรป ในกรุงเทพมหานคร

ดร.กานต์จิรา ลิมศิริธง


บทคัดย่อ:  การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความพึงพอใจในการซื้อเครื่องประดับเงินของนักท่องเที่ยวชาวยุโรปในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือในการวิจัย คือแบบสอบถาม โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจํานวน
400 คน ผลการวิจัยพบว่า มีผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 56 และ 44 ตามลําดับ มีอายุมากกว่า 50 ปีมากที่สุด คือร้อยละ 19.8 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนมากที่สุดที่มากกว่า 2000 ยูโร คิดเป็นร้อยละ 45.5 มีสถานภาพสมรสมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 54.5 มีอาชีพทําธุรกิจส่วนตัวมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 23.3 และเป็นนักท่องเที่ยวจากประเทศอังกฤษมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 25.8 ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าปัจจัยส่วนบุคคลด้านรายได้ และสถานภาพ มีผลต่อความพึงพอใจในการซื้อเครื่องประดับเงินของนักท่องเที่ยวชาวยุโรป ในกรุงเทพมหานคร ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05
คําสําคัญ: ความพึงพอใจในการซื้อ, นักท่องเที่ยวชาวยุโรป, เครื่องประดับเงิน

Abstract :  This research aims at examining silver jewellery buying satisfaction of European tourists in Bangkok. The study tool is a questionnaire for 400 samplings. The research findings indicated that the respondents are female more than male with 56 percent and 44 percent. The respondents are aged above 50 years (19.8 percent). Most have their average income per a month at 2000 EURO (45.5 percent). In the context of status, most are married (54.5 percent). Most have their own-business at 23.3 percent and most respondents are English tourists at 25.8 percent. The hypothesis finding indicated that the personal data in term of income and status is impacted on buying satisfaction of European tourists with positively significant at p = 0.05.
Keywords: Buying Satisfaction, European Tourists, Silver Jewellery


Bibliography:  กานต์จิรา ลิมศิริธง. (2559). ความพึงพอใจในการซื้อเครื่องประดับเงินของนักท่องเที่ยวชาวยุโรป ในกรุงเทพมหานคร. สยามวิชาการ, 17(1), 51-61.


สยามวิชาการ ปีที่ 17 เล่มที่ 1 ฉบับที่ 28 มี.ค. 2559 – ก.ค. 2559 Siam Academic Review Vol. 17 No.1 Issue 28 Mar 2016 – Jul 2016

 

Quick View
ความพึงพอใจในการใช้บริการเงินฝากของลูกค้าธนาคารกรุงเทพ สาขาเดอะมอลล์ ท่าพระ

ความพึงพอใจในการใช้บริการเงินฝากของลูกค้าธนาคารกรุงเทพ สาขาเดอะมอลล์ ท่าพระ (2560)

บทคัดย่อ

       การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยที่เกี่ยวกับการใช้บริการ และความพึงพอใจในการใช้บริการ ตลอดจนเพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยที่เกี่ยวกับการใช้บริการกับความพึงพอใจในการใช้บริการเงินฝากของลูกค้าธนาคารกรุงเทพ สาขาเดอะมอลล์ ท่าพระ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้ใช้บริการธนาคารกรุงเทพ สาขาเดอะมอลล์ ท่าพระ จำนวน 400 ราย ทำการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การแจกแจงความถี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรับผลการทดสอบสมมติฐานใช้สถิติไคสแควร์

  ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี มีการศึกษาระดับปริญญาตรี และมีรายได้ 30,000 บาทขึ้นไป นอกจากนี้ผู้วิจัยยังพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไปใช้บริการกับเพื่อนมากที่สุด มีความถี่ในการใช้บริการ  5 – 6 ครั้งต่อเดือน นิยมไปใช้บริการในวันพฤหัสบดี เวลาที่ไปใช้บริการคือ 14.01 น. – 16.00 น. และปัจจัยที่มีความพึงพอใจในการใช้บริการมากที่สุด ได้แก่ ปัจจัยด้านบุคลากร และปัจจัยที่มีความพึงพอใจน้อยที่สุด ได้แก่ ปัจจัยด้านสถานที่ให้บริการ ส่วนการทดสอบสมมติฐานพบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระดับรายได้ต่อเดือน และอาชีพมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการใช้บริการธนาคารกรุงเทพ สาขาเดอะมอลล์ ท่าพระ นอกจากนี้ยังพบว่า ผู้ไปใช้บริการร่วมด้วย ความถี่ ในการใช้บริการ วันที่ไปใช้บริการ และเวลาที่ไปใช้บริการ มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการใช้บริการธนาคารกรุงเทพ สาขาเดอะมอลล์ ท่าพระ


Abstract

This research aims to explore the personality, service factors and to study the satisfaction as well as study the factors that were relation between personality, service behavior and satisfaction on the service of Bangkok Bank, The Mall Tapha Branch. Sample group used consumers of Bangkok Bank, The Mall Tapha Branch totally 400 persons by using accidental random sampling and statistical method used in data analysis is frequency distribution, percentage, mean, and standard deviation and chi square is used to test hypothesis results, it is found by research results that The result of the study showed that most consumers were male, aged between 41 – 50 years, hold bachelor’s degree and earned up to 30,000 Baht. In addition, Most of them used service with friend, frequency of service were 5 – 6 times per month, preferred to used the service on Thursday, time the service were 14.01 – 16.00 and the satisfaction of most service was human factor and place factor was the least satisfied. For assumption test, it has found that sex, age, education level income per month and occupation were related to satisfaction on the service of Bangkok Bank, The Mall Tapha Branch. Besides, it also has found that users to share service, frequency of use, date to used and time to use were related to satisfaction on the service of Bangkok Bank, The Mall Tapha Branch.


Bibliography    :

รุ่งโรจน์ สงสระบุญ, วิบูลย์ ชินบูรพา, โสภิดา ทะสังขา, พิเชษฐ์ มุสิกะโปดก และสัมฤทธิ์ เทียนดำ. (2560). ความพึงพอใจในการใช้บริการเงินฝากของลูกค้าธนาคารกรุงเทพ สาขาเดอะมอลล์ ท่าพระ. ใน การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 7 (หน้า 1 – 10), นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.


Link to Research: ความพึงพอใจในการใช้บริการเงินฝากของลูกค้าธนาคารกรุงเทพ สาขาเดอะมอลล์ ท่าพระ: Satisfaction on the Service of Customers’ Deposit Account Service of Bangkok Bank, the Mall Tapha Branch

Website: การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 7 The 7th STOU National Research Conference

Quick View

ความรู้และทัศนคติของผู้ดูแลผู้สูงอายุ กรณีศึกษาผู้ดูแลผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านธรรมปกรณ์โพธิ์กลาง และสถานสงเคราะห์คนชราบ้านธรรมปกรณ์วัดม่วงจังหวัดนครราชสีมา

 

Title              :  ความรู้และทัศนคติของผู้ดูแลผู้สูงอายุ กรณีศึกษาผู้ดูแลผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านธรรมปกรณ์โพธิ์กลาง และสถานสงเคราะห์คนชราบ้านธรรมปกรณ์วัดม่วงจังหวัดนครราชสีมา: Knowledge and Attitude of the Elderly Caregivers: A Case Study of Thammapakorn Phoklang and Watmuang Elderly
Care Center Nakhonratchasima Province

Researcher       :  ดร. บุษยา วงษ์ชวลิตกุล,วิรัช สงวนวงศ์วาน,สิริรัตน์ ฉัตรชัยสุชา,ดร. ธนกร ลิ้มศรัณย์,สิริวดี ไทยสมัครและคณิต เรืองขจร
Department      :  Master of Business Administration, Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                 : dr.tanakorn@siam.edu

Abstract            :  The purposes of this research were (1) to explore the knowledge of the elderly caregivers (2) to explore thepersonal’s positive attitude and negative attitudeof the elderly caregivers in the ThammapakornPhoklang and Watmuang Elderly Care Center Nakhonratchasima.Purposive sampling was adopted in this research study, by selected 60 elderly caregivers of these two places, who work at least 1 year. There were 53 respondents, and 51 set of questionnaires returned to the researchers or 96.23 percent. The researchers used descriptive statistics such as frequency percentage average and standard deviation to analyze and interpret the data. The finding has shown as follows; the majority group of respondents incorporated was female, aged between 31-40 years old and study under bachelor degree. Most of respondents had worked in these two places less than 20 years. The elderly caregivers knowledge were in the medium level or 50 – 79 percentin the understanding of aging processes and suitable physical environment for older people. In addition, the sample group had high level of personal’s positive attitude and low level ofpersonal’s negative attitude toward the elderly people. Thus, Nakhonartchasima Provincial Administration Organization (NakhonRatchasima PAO) and the related organization should urgently improve the knowledge for the caregivers of elderly people and consistency. Moreover, these organizations should develop positive attitude and decrease the negative attitude for caregiver of elderly peopleby establish activities or workshops in order to get into the Ministry of Public Health standard. Finally, these organizations should empower the team cooperation, support to the exchange or share knowledge and positive attitude for the caregivers of elderly people.

Key words         :  Elderly, Knowledge of caregivers for the elderly people, Attitude and Caregivers for the elderly people.


Publication        : วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยฯ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2559

                               Journal of Business Administration The Association of Private Higher Education Institutions of Thailand  Vol.5 No.2 Jul-Dec 2016

Link to Publication:    http://www.vu.ac.th/apheitvu/journal_v5n2.html

Download PDF  : ความรู้และทัศนคติของผู้ดูแลผู้สูงอายุ กรณีศึกษาผู้ดูแลผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านธรรมปกรณ์โพธิ์กลาง และสถานสงเคราะห์คนชราบ้านธรรมปกรณ์วัดม่วงจังหวัดนครราชสีมา

Bibliography     :   บุษยา วงษ์ชวลิตกุล, วิรัช สงวนวงศ์วาน, สิริรัตน์ ฉัตรชัยสุชา, ธนกร ลิ้มศรัณย์, สิริวดี ไทยสมัคร และ คณิต เรืองขจร. (2559). ความรู้และทัศนคติของผู้ดูแลผู้สูงอายุ กรณีศึกษาผู้ดูแลผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านธรรมปกรณ์โพธิ์กลาง และสถานสงเคราะห์คนชราบ้านธรรมปกรณ์วัดม่วงจังหวัดนครราชสีมา.  วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยฯ,  5(2), 74-92. 


Quick View

ประสิทธิภาพของการนำแนวคิด TQM ไปปฏิบัติในโรงงานอุตสาหกรรมหล่อหลอมเหล็กของไทย

 

Title              :  ประสิทธิภาพของการนำแนวคิด TQM ไปปฏิบัติในโรงงานอุตสาหกรรมหล่อหลอมเหล็กของไทย: Efficiency of Total Quality Management in Thai Iron Foundry Organizations

Researcher       :  ดร.บุรินทร์ สันติสาส์น
Department     :  Master of Business Administration, Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                :  burin007@yahoo.com

บทคัดย่อ             :   การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของการนำแนวคิด TQM ไปปฏิบัติในโรงงานอุตสาหกรรมหล่อหลอมเหล็กของไทย วิธีการศึกษาประกอบด้วย การวิจัยแบบเชิงปริมาณ โดยการสุ่มตัวอย่างจาก โรงงานอุตสาหกรรมหล่อหลอมเหล็ก ในเขตกรุงเทพมหานคร และจังหวัดในภาคกลาง ที่มีรายชื่ออยู่ในฐานข้อมูลของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ประเภทโรงงานหล่อหลอมเหล็ก เครื่องมือวิจัยที่ใช้คือแบบสอบถาม โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 268 ราย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Enter Multiple Regression) ผลการวิจัยพบว่าตัวแปรต้น ประกอบด้วย ภาวะผู้นำ วัฒนธรรมองค์การ การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ การทำงานเป็นทีม การสื่อสารในองค์การ และความผูกพันกับองค์การ สามารถพยากรณ์ตัวแปรตาม คือประสิทธิภาพการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์การของโรงงานหล่อหลอมเหล็กของไทยที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

คําสําคัญ             : ประสิทธิภาพ  การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์การ  โรงงานหล่อหลอมเหล็กของไทย

Abstract            :  The objective of the study was to study factors affecting efficiency of Total Quality Management in Thai iron foundry organizations. The study employed quantitative research. The research instrument was questionnaire collected from 268 cases. The statistical techniques utilized to analyze data included mean, standard deviation, Pearson’s correlation coefficient and multiple regressions (Enter method). The results showed that the independent variables included Leadership, Organization culture, Customer relation management, Team work, Organization communication and Organization commitment could predict the dependent variable, efficiency of Total Quality Management in Thai iron foundry organizations, at statistically significant level of .01.

Key words        :   Efficiency, Total Quality Management, Thai Iron Foundry Organizations


Publication      : วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ สำนักวิชาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 1  ตุลาคม 2557 – มกราคม 2558  Journal of Social Academic  Vol.8 No.1  2015

Link to Publication:    https://www.tci-thaijo.org/index.php/social_crru/issue/archive


Bibliography   :  บุรินทร์ สันติสาส์น. (2558). ประสิทธิภาพของการนำแนวคิด TQM ไปปฏิบัติในโรงงานอุตสาหกรรมหล่อหลอมเหล็กของไทย. วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ สำนักวิชาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 8(1), 29-47.


Quick View

ปัจจัยการออมเพื่อการวางแผนชีวิตหลังเกษียณอายุที่มีผลต่อพฤติกรรมการออม ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร

 

Title              :  ปัจจัยการออมเพื่อการวางแผนชีวิตหลังเกษียณอายุที่มีผลต่อพฤติกรรมการออม ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร : Saving Factors for After Retirement Planning Affect Saving Behaviours of People in Bangkok

Researcher       :  ชลธิชา มูลละ และ ดร.กานต์จิรา ลิมศิริธง
Department     :  Master of Business Administration, Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                :  memory_may34@hotmail.com

บทคัดย่อ             :   การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาพฤติกรรมการออมเพื่อการวางแผนชีวิตหลังเกษียณของประชาชน ในกรุงเทพมหานคร และ 2) ศึกษาปัจจัยการออมเพื่อการวางแผนชีวิตหลังเกษียณอายุที่มีผลต่อพฤติกรรมการ ออมของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือในการวิจัยคือแบบสอบถาม โดยใช้การสุ่มแบบบังเอิญ (Accident Sampling) จํานวน 400 ตัวอย่าง ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 73.5 (294 คน) และ 26.5 (106 คน) ตามลําดับ มีอายุ 31-40 ปีมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 64 (256 คน) และส่วน ใหญ่สมรสแล้วที่ร้อยละ 43.5 (174 คน) รายได้เฉลี่ยต่อเดือนมากที่สุดคือ มากกว่า 30,000 บาทขึ้นไป คิดเป็น ร้อยละ 37.5 (150 คน) มีอาชีพส่วนใหญ่เป็นพนักงานบริษัทเอกชน ร้อยละ 57.8 (231 คน) โดยพฤติกรรม การออมเพื่อการวางแผนชีวิตหลังเกษียณอายุทั่วไป พบว่า ระยะเวลาการออมอยู่ในช่วง 1-5 ปีมากที่สุด ร้อยละ 44.5 (178 คน) จํานวนเงินออมโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 1,001-5,000 บาทต่อเดือน มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 47.3 (189 คน) และมีวัตถุประสงค์การออมเพื่อเก็บไว้ใช้จ่ายในการศึกษาของบุตรและตนเอง มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 50.3 (201 คน) และนิยมรูปแบบการออมในแบบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 51.5 (206 คน) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยการออมเพื่อการวางแผนชีวิตหลังเกษียณอายุด้านรายได้มีผล ต่อพฤติกรรมการออมของประชาชนในกรุงเทพมหานคร ในด้านปริมาณการออมอย่างมีระดับนัยสําคัญทางสถิติ (Significant .002) แต่ไม่มีผลต่อพฤติกรรมการออมของประชาชนในกรุงเทพมหานคร ในด้านรูปแบบการออม (Significant .255) วัตถุประสงค์การออม (Significant .176) และระยะเวลาการออม (Significant .137) ตามลําดับ นอกจากนี้ยังพบว่าปัจจัยการออมเพื่อการวางแผนชีวิตหลังเกษียณอายุด้านผลิตภัณฑ์การออมมีผลต่อพฤติกรรมการออมของประชาชนในกรุงเทพมหานคร ในด้านปริมาณการออม (Significant .000) และด้านระยะเวลาการออม (Significant .003) อย่างมีระดับนัยสําคัญทางสถิติในทางกลับกัน ปัจจัยการออม เพื่อการวางแผนชีวิตหลังเกษียณอายุด้านผลิตภัณฑ์การออมไม่มีผลต่อพฤติกรรมการออมของประชาชนใน
กรุงเทพมหานคร ในด้านวัตถุประสงค์การออม (Significant .453) และด้านรูปแบบการออม (Significant .226) ตามลําดับ

คําสําคญั              : ปัจจัยการออม พฤติกรรมการออม กรุงเทพมหานคร

Abstract            :  The objectives of this study were 1) to study saving for retirement plans of individuals in Bangkok and 2) to study the saving for retirement plan factors affecting savings behavior of people in Bangkok. The tool used in this research was questionnaire. The 400 samples were selected based on accident sampling. From the results, it was found that most respondents were female at 73.5 % (n=294) and male at 26.5% (n=106), most were between 31- 40 years at 64 % (n= 256), and most were married, 43.5 % (n= 174), most had monthly income more than 30,000 THB 37.5 % (n=150). The majority of those who worked were private company staffs at 57.8 % (n= 231). Concerning general saving for retirement plan, it was found that the time period for savings in the range of 1-5 years was the most at 44.5 % (n= 178), the savings at an average of 1001-5000 THB per month was the most at 47.3 % (n= 189), the intention for the savings to be used for the cost of their children education and their own spending at 50.3 % (n= 201), and the most popular form of savings was Provident fund at 51.5% (n= 206). From the hypothesis testing, it was found that the saving for retirement plan factors affected the savings behavior of people in Bangkok in the aspect of the amount of savings with statistical significance at .002, but did not affect the savings behavior of people in Bangkok in the aspect of form of savings with statistical significance at .255, the intention for the savings with statistical significance at .176, and savings period statistical significance at .137, respectively. From the hypothesis testing, it was found that the saving for retirement plan factors affected the savings behavior of people in Bangkok in the aspect of the amount of savings with statistical significance at .000 and savings period with statistical significance at .003. Conversely, saving for retirement planning, life and savings products did not affect the savings of people in Bangkok in the savings with statistically significant at .453 and form of savings with statistically significant at .226, respectively.

Key words         :  Saving Factors, Savings Behavior, Bangkok


Proceeding       : รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ ปัญญาภิวัฒน์ ครั้งที่ 6 “นวัตกรรมเพื่อการส่งเสริมเศรษฐกิจไทยสู่โลกอนาคต” วันศุกร์ที่ 29 กรกฎาคม 2559 ณ อาคารหอประชุม สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

Link to Proceeding:    https://conference.pim.ac.th/thai/proceeding/

Bibliography     : ชลธิชา มูลละ และ กานต์จิรา ลิมศิริธง. (2559). ปัจจัยการออมเพื่อการวางแผนชีวิตหลังเกษียณอายุที่มีผลต่อพฤติกรรมการออม ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ ปัญญาภิวัฒน์ ครั้งที่ 6 “นวัตกรรมเพื่อการส่งเสริมเศรษฐกิจไทยสู่โลกอนาคต” (หน้า A61-A69). กรุงเทพฯ: สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์.


Quick View

ปัจจัยด้านการผลิตที่มีผลต่อการเพิ่มศักยภาพการส่งออกเสื้อผ้าสําเร็จรูป ของผู้ประกอบการในกรุงเทพมหานคร

 

Title              :  ปัจจัยด้านการผลิตที่มีผลต่อการเพิ่มศักยภาพการส่งออกเสื้อผ้าสําเร็จรูป ของผู้ประกอบการในกรุงเทพมหานคร : Factors of Production to Enhancement of Garment for Exports in Bangkok

Researcher       :  นางสาวสาวิตรี ปานเดย์ และ ดร.กานต์จิรา ลิมศิริธง
Department     :  Master of Business Administration, Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                :  rinapandey144@yahoo.com

บทคัดย่อ             :   การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ประกอบการธุรกิจเสื้อผ้าสําเร็จรูปในกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านการผลิตเสื้อผ้าสําเร็จรูปในกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านการผลิตที่มีผลต่อการเพิ่มศักยภาพการส่งออกเสื้อผ้าสําเร็จรูปในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ ผู้ประกอบการส่งออกเสื้อผ้าสําเร็จรูปในกรุงเทพมหานคร จํานวน 400 คน ทําการสุ่มตัวอย่างเป็นแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่การแจกแจงความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติไคสแควร์  ผลการวิจัย พบว่า ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 41–50 ปีมีระดับการศึกษาระดับอนุปริญญา และมีระยะเวลาดําเนินกิจการ 15 ปีขึ้นไป นอกจากนี้ผู้วิจัยยังพบว่า ปัจจัยด้านการผลิตที่มีผลต่อการเพิ่มศักยภาพการส่งออกเสื้อผ้าสําเร็จรูปในกรุงเทพมหานครมากที่สุด คือ ด้านแรงงาน รองลงมา คือ วัตถุดิบ และด้านเงินทุนมีความสําคัญน้อยที่สุด การทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มศักยภาพการส่งออกเสื้อผ้าสําเร็จรูปในกรุงเทพมหานคร ได้แก่ เพศ อายุระดับการศึกษา และระยะเวลาการดําเนินการ นอกจากนี้ยังพบว่า ปัจจัยด้านการผลิต ได้แก่ วัตถุดิบ เครื่องจักร แรงงาน และเงินทุน มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มศักยภาพการส่งออกเสื้อผ้าสําเร็จรูปในกรุงเทพมหานคร ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

คําสําคญั             :  ปัจจัยด้านการผลิต ศักยภาพการส่งออก เสื้อผ้าสําเร็จรูป

Abstract            :  This research aims 1) to study the individual factors of entrepreneurs of garment for exports in Bangkok. 2) to study factors of production of garment for exports in Bangkok. 3) to study factors of production to enhancement of garment for exports in Bangkok. The samples used for this study were 400 samples. Sampling was purposive sampling. Questionnaires were used to collect data. The data was analyzed as frequency, percentage, mean, and standard deviation. For hypothesis testing was used chi-square. The results showed that the majority of entrepreneurs of garment for exports in Bangkok were man, aged between 41–50 years old. Their highest educations were Diploma’s degree. The periods of work were more than 15 years. Moreover, it was also found that the factor of production affecting the enhancement of garment for exports in Bangkok most was Labor. The second most was raw material and the least was capital. The hypothesis testing revealed that individual factors related to enhancement of garment for exports in Bangkok were gender, age, education and periods of work. In addition, the researcher found that factor of production: raw materials, machinery, labor and capital related to enhancement of garment for exports in Bangkok at 0.05 level of significant

Key words        :  factors of production, enhancement of export, garment


Proceeding       : รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ ปัญญาภิวัฒน์ ครั้งที่ 6 “นวัตกรรมเพื่อการส่งเสริมเศรษฐกิจไทยสู่โลกอนาคต” วันศุกร์ที่ 29 กรกฎาคม 2559 ณ อาคารหอประชุม สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

Link to Proceeding:    https://conference.pim.ac.th/thai/proceeding/

Bibliography     :  สาวสาวิตรี ปานเดย์และ กานต์จิรา ลิมศิริธง. (2559). ปัจจัยด้านการผลิตที่มีผลต่อการเพิ่มศักยภาพการส่งออกเสื้อผ้าสําเร็จรูป ของผู้ประกอบการในกรุงเทพมหานคร. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ ปัญญาภิวัฒน์ ครั้งที่ 6 “นวัตกรรมเพื่อการส่งเสริมเศรษฐกิจไทยสู่โลกอนาคต” (หน้า A275-A283). กรุงเทพฯ: สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์.


Quick View

ปัจจัยทางการตลาด ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อคอนแทคเลนส์ในเฟสบุ๊คดอทคอม

 

Title              :  ปัจจัยทางการตลาด ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อคอนแทคเลนส์ในเฟสบุ๊คดอทคอม : Marketing Factors Influencing Contact Lens Purchasing Decision in Facebook.com

Researcher       :  นางสาวณัฐชญา ชัยผดุง¹ และ ดร. พิเชษฐ์ มุสิกะโปดก² 

Department     :  ¹นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสยาม 10160 ²อาจารย์ที่ปรึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม 10160

E-mail                :  ผู้ประสานงานหลัก:

บทคัดย่อ             :  วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้ (1) เพื่อศึกษาปัจจัยทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อคอนแทคเลนส์ในเฟสบุ๊คดอทคอม (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางการตลาดกับการตัดสินใจซื้อคอนแทคเลนส์ในเฟสบุ๊คดอทคอม (3) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อคอนแทคเลนส์ในเฟสบุ๊คดอทคอม กลุ่มตัวอย่างคือ ลูกค้าที่ซื้อคอนแทคเลนส์ในเฟสบุ๊คดอทคอม โดยไม่จำกัดอายุ จำนวน 400 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Random Sampling) สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ สถิติเชิงพรรณนา ค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางการตลาดใช้สถิติสหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สัน (Pearson Product-Moment Correlation Coefficient) การสร้างสมการถดถอยเชิงเส้นแบบพหุคูณด้วยวิธี Stepwise ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีอายุ 18 – 25 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 – 30,000 บาท มูลค่าเฉลี่ยในการซื้อคอนแทคเลนส์แต่ละครั้ง 201 – 300 บาท ส่วนใหญ่ใช้คอนแทคเลนส์ประเภทรายเดือน ยี่ห้อ Bausch & Lomb บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อคอนแทคเลนส์คือ ตนเอง แหล่งข้อมูลของคอนแทคเลนส์มาจากสื่อโฆษณาทางอินเตอร์เน็ต มีการเปรียบเทียบคอนแทคเลนส์ในแต่ละยี่ห้อก่อนตัดสินใจซื้อ โดยวัตถุประสงค์ในการใส่คอนแทคเลนส์เพื่อแก้ปัญหาความผิดปกติของสายตา ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์เป็นอันดับหนึ่ง อยู่ในระดับมาก โดยให้ความสำคัญกับคอนแทคเลนส์มีการแสดงข้อมูลส่วนประกอบต่าง ๆ และวิธีการใช้ชัดเจน มากที่สุด รองลงมา เป็นปัจจัยด้านราคา ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ปัจจัยด้านการบอกต่อ และปัจจัยด้านช่องทางในการจัดจำหน่าย ตามลำดับ ปัจจัยทางการตลาดที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อคอนแทคเลนส์ในเฟสบุ๊คดอทคอม พบว่าปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านราคา ปัจจัยด้านช่องทางในการจัดจำหน่าย ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด และปัจจัยด้านการบอกต่อ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการตัดสินใจซื้อคอนแทคเลนส์ในเฟสบุ๊คดอทคอม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ในการวิเคราะห์ปัจจัยทางการตลาดที่มีอิทธิผลต่อการตัดสินใจซื้อคอนแทคเลนส์ในเฟสบุ๊คดอทคอม โดยนำตัวแปรอิสระเข้าสมการถดถอยเชิงเส้นแบบพหุคูณ ทั้ง 5 ตัวแปร พบว่า ตัวแปรอิสระ 4 ตัวแปร เข้าสมการถดถอยเชิงเส้นแบบพหุคูณ ได้แก่ 1. ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ 2. ปัจจัยด้านราคา 3. ปัจจัยด้านช่องทางในการจัดจำหน่าย และ 4. ปัจจัยด้านการบอกต่อ แต่ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาดไม่มีอิทธิผลต่อการตัดสินใจซื้อคอนแทคเลนส์ในเฟสบุ๊คดอทคอม

คําสําคัญ             :  ปัจจัยทางการตลาด คอนแทคเลนส์ การตัดสินใจเลือกซื้อคอนแทคเลนส์ เฟสบุ๊คดอทคอม

Abstract            :  This reseach aims (1) to study the Marketing factors influencing to purchasing decision of Contact Lens in Facebook.com. (2) to study the relationship model of marketing factors to make purchasing decision of Contact Lens in Facebook.com. (3) to analyze the factors affecting to purchasing decisions of Contact Lens in Facebook.com. The sample consisted of customer who purchased contact lens in Facebook.com and no aged limit. Sampling were done of 400 people with a purposive random sampling method by descriptive statistics, the average percentage and standard deviation. The correlation was used to Pearson Product-Moment Correlation Coefficient and a multiple linear regression with stepwise. The results of study showed that most of samples were female, 18-25year old, graduated in Bachelor’s degree, were private company employees, average monthly income ranging from 20,001 – 30,000 Baht. The average cost of buying contact lens each time was around 201 – 300 Baht. Most people used to monthly contact lens which made by Bausch & Lomb. Most of them were influenced by online advertising and choice the contact lens by themselves. They were also compare each brand before making a purchase. For the purpose of wearing contact lens was to solve the sight problem. Questionaire answerer attaches great importance to product factor. Especially the contact lens that showed component details and instruction clearly. Second, the price factor, marketing promotion factor, buzz factor and distribution factor respectively. Marketing factor relating to buying a contact lens in Facebook. Product factor, price factor, distribution factor marketing, promotion factor and buzz factor had a positive relationship with the decision to buy contact lens in Facebook significantly on the statistics at 0.01 on analyzing market factor which influencing decision to buy contact lens in Facebook. By applying independent variables to multiple linear regression equation with all 5 factors. As a result, product factor, price factor, distribution factor and buzz factor apply into multiple linear regression equation but the marketing promotion factor had no effect on the decision to buy contact lens in Facebook.

Keywords        :    Marketing Factors, Contact Lens, Contact Lens Purchasing Decision, Facebook.com

Donwload PDF  :  ปัจจัยทางการตลาด ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อคอนแทคเลนส์ในเฟสบุ๊คดอทคอม


Proceeding       : รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 13 เรื่อง “Changing Era: What’s happening in Arts & Design in 21St Century? เปลี่ยนผ่านอย่างสร้างสรรค์สู่ศตวรรษที่ 21” ศูนย์บริการวิจัย และ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ร่วมกับ เครือข่ายวิจัยประชาชื่น วันพฤหัสบดีที่ 29 มีนาคม 2561 ณ ห้องประชุมหอประวัติและพิพิธภัณฑ์ ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ อาคาร 6 ชั้น 7 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

Link to Proceeding:    http://www.dpu.ac.th/conference/


Bibliography     :    ณัฐชญา ชัยผดุง และ พิเชษฐ์ มุสิกะโปดก. (2561). ปัจจัยทางการตลาด ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อคอนแทคเลนส์ในเฟสบุ๊คดอทคอม. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 13 เรื่อง “Changing Era: What’s happening in Arts & Design in 21St Century? เปลี่ยนผ่านอย่างสร้างสรรค์สู่ศตวรรษที่ 21” (หน้า 266-276). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.


 

Quick View