ทัศนคติและความตั้งใจซื้อรถยนต์ประหยัดพลังงานของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (2557)

 

[mfn]เบญจวรรณ บวรกุลภา. (2558). ทัศนคติและความตั้งใจซื้อรถยนต์ประหยัดพลังงานของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. สยามวิชาการ, 15(2), 68-79.[/mfn]   ทัศนคติและความตั้งใจซื้อรถยนต์ประหยัดพลังงานของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร The Attitude and Intention of Consumers in Buying Economic Cars in Bangkok Area

ผศ.เบญจวรรณ บวรกุลภา


วารสารสยามวิชาการ ปีที่ 15 เล่มที่ 2 ฉบับที่ 25 พ.ย. 2557 – ก.พ. 2558 Siam Academic Review Vol. 15 No.2 Issue 25 Nov 2014 -Feb 2015

Quick View
สยามวิชาการ-siam academic review-มหาวิทยาลัยสยาม-ปีที่18ฉบับที่30-มีนาคม-กรกฎคม-2560

องค์ประกอบปัจจัยทางการตลาดและพฤติกรรมการซื้อ ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของวัยรุ่นในเขต กรุงเทพมหานคร (2560)

 

[mfn]วราภรณ์ ลิ้มเปรมวัฒนา และ เอกภพ มณีนารถ.  (2560).  องค์ประกอบปัจจัยทางการตลาดและพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร.  สยามวิชาการ, 18(30)72-92.[/mfn]    องค์ประกอบปัจจัยทางการตลาดและพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร
วราภรณ์ ลิ้มเปรมวัฒนา และ เอกภพ มณีนารถ

อาจารย์ประจําภาควิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม


Abstract: The research on “Marketing Factors and Purchasing Behavior of Environmentally Friendly Products of Teenagers in Bangkok Metropolitan Area” has the objective for 1) studying
the marketing factor effective to the purchase of environmentally friendly products of teenagers in Bangkok Metropolitan Area 2) studying the purchasing behavior of environmentally friendly products of teenagers in Bangkok Metropolitan Area. The samples used in this research are 400 teenagers having their ages in between 15 – 24 years old living in Bangkok Metropolitan Area who purchased environmentally friendly products. The statistics used in the data analysis are percentage, mean, standard deviation, and factor analysis. The result of the research found that the marketing factors used in deciding to purchase the environmentally friendly products consisted of 3 factors, they are 1) Product, brand, and packaging, 2) Promotion and how to pay money in different forms, and 3) Reasonable prices and purchasing convenience.

Keywords:  Marketing Factors, Purchasing Behavior, Environmentally Friendly Products, Teenagers


Bibliography: วราภรณ์ ลิ้มเปรมวัฒนา และ เอกภพ มณีนารถ.  (2560).  องค์ประกอบปัจจัยทางการตลาดและพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร.  สยามวิชาการ, 18(30)72-92.


สยามวิชาการ ปีที่18 ฉบับที่30 ปี 2560

Quick View

เมื่อพร้อมเพย์ก็ควรจะพร้อมออม (2560)

 

Title              :  เมื่อพร้อมเพย์ก็ควรจะพร้อมออม : Prompt Pay should come with Prompt Saving

Researcher       : สุรชัย ภัทรบรรเจิด และ มนทิรา อารีพรสมสุข

Surachai Pattarabanjird and Monthira Tantrawanich

Department      :  Faculty of Business Administration , Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                 :  spsmart99@hotmail.com,  monthira@siam.edu

บทคัดย่อ              :   ระบบพร้อมเพย์ เป็นบริการโอนเงินและรับเงินทางเลือกใหม่ในการธุรกรรมทางการเงิน โดยใช้หมายเลขบัตรประชาชน หรือหมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนที่แทนที่บัญชีเงินฝากธนาคาร อาทิ การโอนเงินเพื่อชำระค่าสินค้าหรือบริการในชีวิตประจำวัน การจ่ายสวัสดิการของภาครัฐ รวมถึงการคืนเงินภาษีแก่ประชาชน โดยเปิดการลงทะเบียนใช้ระบบนี้ผ่านธนาคารต่างๆ เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 และลูกค้านิติบุคคลสามารถสมัครได้ตั้งแต่วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป ระบบนี้เป็นแนวคิดในการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ตามนโยบายระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ โดยระบบการชำระเงินจะเป็นการผูกบัญชีเงินฝากธนาคารกับหมายเลขบัตรประชาชน หรือหมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชน อันจะทำให้การชำระเงินและการโอนเงินเป็นไปได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมากขึ้น แต่ระบบนี้อาจส่งผลกระทบด้านภาระหนี้ครัวเรือนที่เพิ่มขึ้นและส่งผลกระทบต่อการออม ดังนั้น ผู้เขียนจึงใคร่ขอเสนอการนำระบบพร้อมออมมาใช้ร่วมกับระบบพร้อมเพย์ จะช่วยให้ผู้บริโภคเกิดการออมขึ้นเมื่อมีการใช้จ่าย และระบบพร้อมออมจะช่วยให้ผู้บริโภคมีวินัยและความรอบคอบในการใช้จ่ายให้มากขึ้น

คำสำคัญ              :  พร้อมเพย์, เศรษฐกิจดิจิทัล, พร้อมออม, กองทุนการออมแห่งชาติ, ระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ

Abstract            : Prompt Pay is a new payment system that uses ID-chip card number (Smart Card) or mobile phone number for convenient payment of any goods or services when making a transaction. It also enables a payment from Welfare State and tax redeem. This policy supports the digital economy as stated in the National e-Payment policy. The payment system is tied with a savings account with ID-chip card or mobile phone number that will make a convenient and rapid payment and transfer system. However, this payment system may have an impact on household debt increase and savings decrease. So, the Prompt Saving systemis proposed to be used along with the Prompt Pay system, and that will let consumers save more moneyanytime when a purchase is made, and the Prompt Saving system also helps consumers to have more discipline and prudence on expenditure.

Keywords         :  Prompt Pay, Digital Economy, Prompt Saving, National Saving Fund, National e-Payment


Publication        : วารสารนักบริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2560 Executive Journal  Vol.37 No.1 Jan-Jun 2017

Link to Publication:   https://www.tci-thaijo.org/index.php/executivejournal/issue/view/7444

Bibliography     :  สุรชัย ภัทรบรรเจิด และ มนทิรา อารีพรสมสุข. (2560). เมื่อพร้อมเพย์ก็ควรจะพร้อมออม. วารสารนักบริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ,  37(1), 27-35. 


Quick View