Applying Correlation Analysis and Tam for Determining Relationship Between Two Variables

 

Title              : Applying Correlation Analysis and Tam for Determining Relationship Between Two Variables

Researcher       :  Pitchayakorn Lake พิชญากร เลค
Department     :  Faculty of Information Technology, Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                :  pitchayakorn@siam.edu

Abstract            :  Future scenarios of political, economics and education sectors will depend on the contributions of students. The twenty-first century educator is a visionary. Teachers see the potential in the emerging tools and technology innovations in order to manipulate them to serve student’s needs. The universities across the world have incorporated in learning systems. The success of educator requires an extensive understanding of technology innovations. Educational innovations will be effective if they research on educational technology i.e. technology-learning process and technology in using hardware and software. The research use TAM in order to stimulate to learn more.

The objective of this research is to study the relationship between two variables of Information Technology and Computer for Studies and Works by using correlation analysis. Data collection were obtained from 284 respondents with the mean of 406.6 on MS. Word and SD. is 291.9. The mean on MS. Excel is 291.9 and SD. is 313.8. The students who got MS. Word scores better on average than MS. Excel scores. Out of the 284 respondents 128 (45.1%) were male and 156 (54.9%) were female. The result shows that correlations coefficient is 0.749. The coefficient is calculated by taking the covariance of the two variable. The students who got MS. Word and MS. Excel scores, were linear correlated statistically significant at 0.05 (F=360.63, p = 0.000). The researcher used variable of MS. Word scores as a predictor, which can predict 56.1% of MS. Excel scores. The regression equation is MS. Word = 131.718 + 0.942 (MS. Excel).

Keywords         :    Information Technology, Computer for Studies and Works, Correlation Analysis


Proceeding       :  การประชุมวิชาการระดับชาติ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ประจำปี 2559 วันที่ 26 พฤษภาคม 2559 มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ APHEIT Conference 2016                             

Link to Proceeding:    http://apheitconference.siam.edu/index.php/en/proceedings-2012-2016

Bibliography    :  Pitchayakorn Lake. (2016). Applying correlation analysis and tam for determining relationship between two variables. In  Proceedings of APHEIT Conference 2016 (pp. 139). Khon Kaen: North Eastern University.


Quick View

การทำนายจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย โดยใช้การวิเคราะห์อนุกรมเวลา ด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล (2559)

 

Title              : การทำนายจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย โดยใช้การวิเคราะห์อนุกรมเวลา ด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล

Researcher       :  Pitchayakorn Lake พิชญากร เลค
Department     :  Faculty of Information Technology, Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                :  pitchayakorn@siam.edu

Abstract            : This research aim to develop the model of forecasting the number of International Tourists arrival to Thailand. They can expand economic of Thailand. The research provide 3 techniques, which
techniques are suited to the forecasting model i.e. Linear Regression, Multi-Layer Perceptron and Support Vector Machine for Regression. The study data was the number of the International Tourists arrival from 2007 to 2015, which they were on the amount of 108 months.
The experimental results show that the forecasting trends the number of ASEAN travelers to visit Thailand i.e. China, Malaysia, Japan and Korea. The forecasting model achieves the highest accuracy rate as follows, 1) the support vector machine for regression forecasting was the most achievable for China, Malaysia and Korea, which the highest accuracy rate were 12.07%, 8.41% and 14.29% of MMRE, respectively. 2) the linear regression forecasting was the most achievable for Japan, which the highest accuracy rate was 8.17% of MMRE.

Keywords         :  Forecasting, Number of International Tourist Arrival to Thailand, Time Series Analysis, Data
Mining Techniques


Proceeding       :  การวิจัยเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน Proceedings KU SCR 1st National Conference 2559: การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ประจำปี 2559                         

Link to Proceeding: http://www.src.ku.ac.th/conference/

Bibliography    : พิชญากร เลค. (2559). การทำนายจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย โดยใช้การวิเคราะห์อนุกรมเวลา ด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล. ใน รายงานการประชุม การวิจัยเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน Proceedings KU SCR 1st National Conference 2559: การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ประจำปี 2559 (หน้า 453-463). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.


Quick View

การพัฒนาระบบประเมินการสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยสยามผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

 

Title              :  การพัฒนาระบบประเมินการสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยสยามผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต : Development of Teaching Evaluation System of Siam University via Internet Network

Researcher       :  จักรพันธุ์ รักธรรมนูญ Raktamnoon J.

Department     :  สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม

E-mail                :  jackrapan02@gmail.com

บทคัดย่อ             :   การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบประเมินการสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยสยามที่ทํางานผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแบบเรียลไทม์สําหรับเป็นเครื่องมือในการประเมินและปรับปรุงประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์แทนระบบเดิมที่มีความล่าช้า ไม่สามารถให้สารสนเทศตามที่ผู้ใช้ต้องการได้ โดยพัฒนาเป็นเว็บแอปพลิเคชั่น แบ่งการทํางานออกเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 สําหรับผู้ดูแลระบบในการสร้างแบบสอบถามที่ใช้ในการประเมินการสอน ส่วนที่2 สําหรับนักศึกษาในการทําการประเมินอาจารย์ผู้สอนผ่านหน้าเว็บไซต์ และส่วนที่3 สําหรับอธิการบดี คณบดี หัวหน้าภาค และอาจารย์ ในการเข้าถึง ผลการประเมินการสอนผ่านหน้าเว็บไซต์โดยแสดงผลได้ทั้งรูปแบบของตารางและกราฟเปรียบเทียบตามประเภทรายวิชาและระดับความยากง่าย ภาษาที่ใช้ในการพัณนา ได้แก่ ภาษา PHP, JavaScript, HTML5, CSS จัดเก็บข้อมูลลงฐานข้อมูล MySQL และบริหารจัดการข้อมูลด้วยภาษา SQL สร้างกราฟด้วย HighCharts API ผลการดําเนินงานเมื่อทําการติดตั้งและทดลองใช้งานจริง พบว่า ระบบสามารถทํางานได้ตามฟังก์ชันการทํางานที่กําหนดไว้ สามารถแสดงผลการประเมินการสอนได้ถูกต้องทั้งในรูปแบบของตารางและกราฟ และจากการประเมินประสิทธิภาพของระบบในด้านต่าง ๆ โดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มผู้ใช้ที่เป็นนักศึกษาและอาจารย์จํานวน 20 คนด้วยแบบสอบถามประเมินประสิทธิภาพของระบบในส่วนของแบบสอบถามประเมินการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และประสิทธิภาพของระบบในส่วนการแสดงผลการประเมินการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งมีระดับความพีงพอใจอยู่ในระดับดี ทั้ง 2 ส่วน ได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.14 และ 4.02 ตามลําดับกล่าวได้ว่าระบบที่พัฒนานี้สามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้เป็นอย่างดีสามารถให้สารสนเทศตามที่ผู้ใช้ต้องการได้

คําสําคัญ             :   ประเมินการสอนออนไลน์, มหาวิทยาลัยสยาม

Abstract            :  This research is the development of a Teaching Evaluation System of Siam University via Internet Network. This is a tool for assessing and improving the teacher’s teaching effectiveness to replace the old system with the delay and cannot provide the information for user needs. It has been developed as a web application consists of three parts: Part one for the administrator to create and manage the questionnaire used in the assessment, Part two for students to assess the teacher and Part three for president, dean, director and teacher for accessing the teaching evaluation results displayed in forms of table and graph comparison by subject type and difficulty level. The system has been developed by PHP, JavaScript, HTML5, CSS, and SQL as programming, use MySQL as a database management system and create graphs by HighCharts API. After installation and trail run, the result is the system can operate by defining functionality and can display accurate assessment results. In the evaluation process, the questionnaire is applied to 20 subjects. The results show that the level of satisfaction of the users is good. The systemdeveloped can be applied to the organization and can provide the information that the user needs.

Keywords        :    online teaching evaluation, Siam University


Proceeding       : รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5  The 5th Academic Science and Technology Conference 2017 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0” (Science and Technology as a Key Driver towards Thailand 4.0) วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม 2560  ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร ผู้จัดหลัก: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

Link to Proceeding:    https://www.astcconference.com/page/proceedings#astc-content

Bibliography     :    จักรพันธุ์ รักธรรมนูญ. (2560). การพัฒนาระบบประเมินการสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยสยามผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0” (หน้า 1317-1326). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.


Quick View