วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 ปี 2563

Title: วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 ปี 2563 Siam Communication Review Vol.19 No.1 2020

ISSN: 1513-2226


[dflip id="7755"][/dflip]

บทบรรณาธิการ

ศิริชัย ศิริกายะ 1-7

pdf (ภาษาไทย)


Research Articles

The Comparative Study of Make-up Communication in Variety Ceremonial Events

กฤษณ์ คำนนท์, รัฐพล ไชยรัตน์, ศิริชัย ศิริกายะ 8-21

pdf (ภาษาไทย)


The Communication in Television Docudrama : Tai Roy Greed (The Story of Borderline Personality Disorder)

มนต์ศักดิ์ เกษศิรินทร์เทพ, สมคเน วรวิวัฒน์, ประยุกต์ ศรีทองกูล 68-84

The Creation of a Creative Dance of Dresses among Tai Khamti Women

ณัฏฐ์พัฒน์ ผลพิกุล 85-94

Communication for Customer Relations Management Case Study of Samutsakhon Football Club

นเรศ บัวลวย, ศุภกาญจน์ จำเริญรักษ์, ศิริลักษณ์ กมลรัตน์, สุธิชา ภิรมย์นุ่ม 95-104

The Exposure Behavior and Satisfaction on Food Delivery Applications Among Bangkok Metropolis Residents

ฐานทัศน์ ชมภูพล, เอกสิทธิ์ อวยชัยวัฒน์, ปวรรศ จันทร์เพ็ญ 105-116

Users’ Behaviors and Acceptance of Electronic Payment Services in the Form of a QR Code

รัชนี พรหมพันธุ์ใจ, ยศระวี วายทองคำ, ศศิพรรณ บิลมาโนชญ์ 130-143

Principles of News Analysis and News Sharing Criteria on Social Media of Bangkok People

ประกิจ อาษา, สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์ 144-159

Problems Infringement of Copyright in Communication Arts Works

สมหมาย จันทร์เรือง, วิชุดา ธนาพุฒิภรณ์, สราญรัตน์ ลีลาศิริวนิชย์ 195-204

Conversational Commerce: New Trend of E-Commerce

ปิยะศักดิ์ ชมจันทร์ 205-209

View All Issues 


Quick View

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 ปี 2563

Title: วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 ปี 2563 Siam Communication Review Vol.19 No.2 2020

ISSN: 1513-2226


Full Issue pdf (ภาษาไทย)

Research Articles

The Construction and Signification of Collective Memory in Thai Historical Telenovelas

Sorarat Jirabovornwisut, PREEDA AKARACHANTACHOTE  8-29

The Creation of a Dance from Chaos Theory

Vanicha Paradonsutham, NARAPHONG CHARASSRI  30-44

Narrative Device of Internet Fiction in Thai Society

รัตติยา กาญจนาภิญโญกุล, PREEDA AKARACHANTACHOTE  45-58

The Development of Content Set for Public Relations Communication Titled in MCOT Conservation of Royal Initiative on Social Media of MCOT Plc.

Kuntida Thamwipat, Pornpapatsorn Princhankol, ศุภาวดี เสือโภชน์, สุนทรียา จิตร์ถาวรมณี  116-125

 

Quick View

หลักฐานเชิงประจักษ์การรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (2563)

ผู้เขียนบทความ:   อ.ภญ. วิภาวี รอดจันทร์ และ ดร.ภก. อภิโชติ โซ่เงิน

บทคัดย่อ:

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ coronavirus disease 2019 (COVID-19) ซึ่งมีสาเหตุจากเชื้อไวรัสชื่อ severe acute respiratory syndrome coronavirus 2 (SARS- CoV-2) ได้เริ่มมีการรายการแพร่ระบาดตั้งแต่ช่วงปลายปี 2562 จากเมืองอู่ฮั่น (Wuhan) จนกระทั่งเดือนมีนาคม 2563 องค์การอนามัยโลกได้มีการประกาศให้ COVID-19 อยู่ในภาวะ pandemic เนื่องจากมีรายงานจำนวนผู้ป่วยที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องและแพร่กระจายไปหลายประเทศ บทความนี้จะอธิบายเกี่ยวกับลักษณะของเชื้อไวรัส อาการของโรค และหลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกับยาที่มีการศึกษาในมนุษย์

คำสำคัญ: ไวรัส โคโรนา2019 โรคติดเชื้อ การรักษา

Link to Academic article: หลักฐานเชิงประจักษ์การรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

Quick View

หลักวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมชุมชน ขั้นที่ 2 (2563)

หลักวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมชุมชน ขั้นที่ 2 (2563)

ผู้เขียนบทความ: ดร. ภก. เสถียร พูลผล

บทคัดย่อ:

เพื่อให้ร้านยาเป็นหน่วยบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ออกกฎกระทรวงการขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. 2556 ขึ้น ทำให้ร้านยาต้องปฏิบัติตามหลักวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมชุมชน โดยแบ่งออกเป็นทั้งหมด 3 ขั้น ซึ่งในปี พ.ศ. 2563 นี้จะเป็นการประเมินในขั้นที่ 2 ซึ่งเพิ่มเติมจากการประเมินในระยะที่ 1 ที่เคยประเมินในปี พ.ศ. 2561 โดยมีรายละเอียดคือ หมวดที่ 1 สถานที่ จะต้องมีความมั่นคง มีทะเบียนบ้าน มีพื้นที่ขายและให้คำแนะนําการใช้ยาไม่น้อยกว่า 8 ตารางเมตร และมีพื้นที่เก็บสํารองยาเป็นสัดส่วนโดยไม่วางยาสัมผัสกับพื้น หมวดที่ 2 อุปกรณ์ มีอุปกรณ์วัดส่วนสูง ถังดับเพลิง ที่พร้อมใช้งาน หมวดที่ 3 บุคลากร มีการแยกบทบาทของเภสัชกรและพนักงานอย่างชัดเจน โดยพนักงานต้องมีความรู้เกี่ยวกับกฎหมายยาและงานที่ได้รับ หมวดที่ 4 ไม่มีการประเมิน และหมวดที่ 5 การให้บริการทางเภสัชกรรมกับผู้ป่วย โดยเภสัชกรต้องมีวิธีการปฏิบัติทางเภสัชกรรมที่ดี เช่น การซักถามข้อมูลที่จำเป็น จัดให้มีฉลากยาแสดงข้อมูลที่จำเป็น การส่งมอบยาพร้อมให้คำแนะนําตามหลักวิชาการและจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ การคัดกรองและส่งต่อผู้ป่วย การผลิตยาตามใบสั่งยา การเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา การจัดสื่อให้ความรู้และสื่อโฆษณาสำหรับผู้มารับบริการ

คำสำคัญ: หลักวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมชุมชน ขั้นที่ 2, Good Pharmacy Practice (GPP) Phase 2, ร้านยา

Link to Academic article: หลักวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมชุมชน ขั้นที่ 2

Quick View