Optimal Scheduling of Variable Speed Pumps in Mahasawat Water Distribution Pumping Station (2017)

Title              :  Optimal Scheduling of Variable Speed Pumps in Mahasawat Water Distribution Pumping Station

Researcher       : Tomorn Sunthornnapha

Department     : Department of Electrical Engineering, Siam University
E-mail                :  tomo.soo@siam.edu

Abstract            :  An optimum energy conservation technique for water treatment plant, both in term of costs and environmental impacts, have been studied and implemented primarily at Mahasawat Water Distribution Pumping Station, Thailand. This article proposes an optimum scheduling of 4-variable speed pumps operating under their actual conditions. We apply affinity laws with simple measures of performance; delivery pressure, power, and speed; to a group of pumps before scheduling them in parallel as 4-3-2 pump configuration. Energy costs are computed in term of specific energy consumptions (SEC’s) to compare them for all configurations. This proposed technique is tested and the test results demonstrated that it can reduce energy consumption by more than 12%. 

Keywords         : energy conservation; variable speed pumps;
water distribution pumping; specific energy consumption

Download PDF:  Optimal Scheduling of Variable Speed Pumps in Mahasawat Water Distribution Pumping Station


Link to Conference:   The 2017 4th International Electrical Engineering Congress, Pattaya, Thailand, 8-10 March 2017.


Bibliography    :  Sunthornnapha, T. (2017). Optimal Scheduling of Variable Speed Pumps in Mahasawat Water Distribution Pumping Station. In The 2017 4th International Electrical Engineering Congress (iEECON 2017), 8-10 March 2017 (pp.145-148)Pattaya: Thailand.


Quick View

Utilization of MLP and Linear Regression Methods to Build a Reliable Energy Baseline for Self-benchmarking Evaluation (2017)

Title              : Utilization of MLP and Linear Regression Methods to Build a Reliable Energy Baseline for Self-benchmarking Evaluation

Researcher       : Tomorn Sunthornnapha

Department     : Department of Electrical Engineering, Siam University
E-mail                :  tomo.soo@siam.edu

Abstract            :  This paper presents a reliable energy baseline model for self-benchmarking evaluation of energy saving potential by using multilayer perceptron (MLP) method. The measured energy data and product quantities of the sample plant in daily period dating back since 2011 to 2016 are used as variables and then normalized to represent the energy baseline (EnB) of the manufacturing plant. A comparison of MLP and linear regression (LR) methods for creating the baseline model is investigated during the factory expansion capacity. For LR method, we use the ASHRAE Guideline 14-2002 as a reference in recommended values for modeling uncertainty. As the uncertainty problem, the LR method is more sensitivity to the outliners, because the nature of plant variables has more complexity and nonlinearity. So we introduce the MLP method to solve or reduce the effect of nonlinearity by supervised learning in the short-term and long-term period of the production. For simulation results, in short-term period the LR method demonstrates some better results of uncertainty parameters. However, the proposed MLP with LR method can build a
reliable baseline showing in better R-square values than LR method. This is useful for energy evaluation when the plant is expanding capacity to protect misleading interpretation occurring during the year. For long-term period, the MLP method can overcome the LR method in all uncertainty parameters. Therefore, the MLP method may be able to the alternative choice for creating the EnB in nonlinearity circumstances of the plants for short-term and long-term period. 

Keywords         : energy conservation; uncertainty; energy baseline; multilayer perceptron; linear regression

Download PDF:  Utilization of MLP and Linear Regression Methods to Build a Reliable Energy Baseline for Self-benchmarking Evaluation


Link to Conference:   2017 4th International Conference on Power and Energy Systems Engineering, CPESE 2017, 25-29 September 2017, Berlin, Germany 


Bibliography    :  Sunthornnapha, T. (2017). Utilization of MLP and Linear Regression Methods to Build a Reliable Energy Baseline for Self-benchmarking Evaluation. In 2017 4th International Conference on Power and Energy Systems Engineering, CPESE 2017, 25-29 September 2017. BerlinGermany.


Quick View

การวิเคราะห์กลยุทธ์การซื้อขายอิเล็กทรอนิกส์สำหรับระบบการซื้อขายอัตโนมัติด้วย MQL4 (2559)

Title              :  การวิเคราะห์กลยุทธ์การซื้อขายอิเล็กทรอนิกส์สำหรับระบบการซื้อขายอัตโนมัติด้วย MQL4 : Analysis of Electronic Trading Strategies for Automated Trading System with MQL4

Researcher       : โตมร สุนทรนภา

Department     :  ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
E-mail                :  tomo.soo@siam.edu

บทคัดย่อ             :  บทความนี้เสนอการวิเคราะห์กลยุทธ์การซื้อขายอิเล็กทรอนิกส์ด้วยระบบการซื้อขายอัตโนมัติซึ่งเขียนด้วยโปรแกรมภาษา MQL4 ทำการสร้างกฎการซื้อขาย จากดัชนีบ่งชี้ที่นิยมใช้ทั้งหลักการตัดกันและเงื่อนไขเปรียบเทียบกับค่าควบคุม เช่น MA MACD ADX CCI เป็นต้น กำหนดกลยุทธ์การซื้อขายในรูปแบบต่างๆ แล้วนำมาทดสอบกับข้อมูลอัตราแลกเปลี่ยน เช่น EURUSD USDJPY GPBUSD และ USDCHF พร้อมทั้งหาค่าพารามิเตอร์ที่ดีที่สุดจากตัวโปรแกรม MT4 ผลการทดสอบย้อนกลับ และผลการตรวจสอบระบบแบบไปข้างหน้า เช่น แฟกเตอร์กำไร เปอร์เซ็นต์การลากผิดทาง เปอร์เซ็นต์ทำกำไร และเปอร์เซ็นต์ขาดทุน ได้นำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบและอภิปราย

คำสำคัญ             : : ระบบการซื้อขายอัตโนมัติ MQL4 กลยุทธ์การซื้อขาย

Abstract            :  This paper presents an analysis of electronic trading strategies with automated trading system. The program is written in MQL4 to create trading rules using popular indicators such as MA, MACD, ADX and CCI. The trading system using crossover of two indicators and comparing control values can give a signal. We defined trading strategies in different ways and then test with foreign exchange historical data such as EURUSD, USDJPY, GPBUSD and USDCHF. The best parameters are optimized by MT4 program. The backtest results and validation with forward test as profit factor, drawdown percent, profit trades and loss trades percent are analyzed and discussed.

Keywords         : Electronic trading system, MQL4, Trading strategy

Download PDF: การวิเคราะห์กลยุทธ์การซื้อขายอิเล็กทรอนิกส์สำหรับระบบการซื้อขายอัตโนมัติด้วย MQL4


Link to Proceeding:   การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 39 (EECON 39th) วันที่ 2-4 พฤศจิกายน 2559 , โรงแรมเดอะ รีเจนท์ชะอำบีช รีสอร์ท จังหวัดเพชรบุรี.   


Bibliography    :  โตมร สุนทรนภา. (2559). การวิเคราะห์กลยุทธ์การซื้อขายอิเล็กทรอนิกส์สำหรับระบบการซื้อขายอัตโนมัติด้วย MQL4. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 39 (EECON 39th) วันที่ 2-4 พฤศจิกายน 2559, โรงแรมเดอะ รีเจนท์ชะอำบีช รีสอร์ท จังหวัดเพชรบุรีกรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


Quick View

การวิเคราะห์และเทคนิคการออกแบบวงจรอัดประจุ

 

Title              :  การวิเคราะห์และเทคนิคการออกแบบวงจรอัดประจุ : Analysis and Design Techniques of Charge Pump Circuits

Researcher       :   ปิติกันต์ รักราชการ
Department     :  ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม 38 ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ 10160 เบอร์โทรศัพท์ 02-4570068 ต่อ 140

E-mail                :  pitikan@siam.edu

บทคัดย่อ             :  ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีด้านอิเล็กทรอนิกส์และการสื่อสารในปัจจุบัน ทำให้เครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบันนี้มีขนาดเล็กลงและต้องประหยัดพลังงานมากขึ้น จึงเป็นเหตุผลให้ต้องมีการพัฒนาแหล่งจ่ายพลังงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น วงจรอัดประจุเป็นวงจรหนึ่งที่ถูกนำมาใช้งานอย่างกว้างขวาง เนื่องจากวงจรดังกล่าวสามารถเพิ่มแรงดันให้สูงขึ้นโดยใช้แหล่งจ่ายแรงดันระดับต่ำได้ ทั้งยังมีการสูญเสียต่ำ บทความนี้ได้กล่าวถึง หลักการทำงานเบื้องต้นของวงจรอัดประจุ คุณสมบัติและพฤติกรรมของวงจร พารามิเตอร์และแบบจำลอง เทคนิคและกลยุทธ์ในการออกแบบวงจร และการหาค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสม วงจรแบบดิกสัน รวมถึงแนะนำเทคนิคในการออกแบบวงจรอัดประจุที่มีใช้กันอยู่ในปัจจุบัน

คําสําคัญ             :    การประหยัดพลังงาน แหล่งจ่ายพลังงาน วงจรอัดประจุ

Abstract            :  The technological advances in electronics and communication today. The consumer electronics today required smaller and more energy saving. These are the reason for the need of development of power supply to even higher levels of efficiency. Charge pump is a circuit that is used widely. Since such circuits can be increased by using high voltage as low voltage source and lossless. This article has discussed on basic operation of the pump charge circuit, the properties and behavior of the circuit, parameters and models, techniques and strategies in the design cycle and searching the appropriate parameters. Diskson Circuits and tricks of the design is applied in the present.

Keywords        :   Energy savings, Power supply, Charge Pump

Download PDF:   การวิเคราะห์และเทคนิคการออกแบบวงจรอัดประจุ


Publication        : วารสารวิชาการ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2559  APHEIT JOURNAL SCIENCE TECHNOLOGY Vol.5 No.1  Jan-Jun 2016

Link to Publication:    http://apheit.bu.ac.th/index.php/read-science?id=156


Bibliography     :   ปิติกันต์ รักราชการ. (2559). การวิเคราะห์และเทคนิคการออกแบบวงจรอัดประจุ. วารสารวิชาการ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 5(1), 112-125.


 

Quick View

การศึกษาออกแบบ และสร้างแบบจำลองทางวิศวกรรมระบบรถไฟฟ้า เพื่อใช้เป็นประโยชน์ สําหรับการพิจารณาเปรียบเทียบและตัดสินใจต่อโครงการขนส่งระบบราง

 

Title              :  การศึกษาออกแบบ และสร้างแบบจำลองทางวิศวกรรมระบบรถไฟฟ้า เพื่อใช้เป็นประโยชน์ สําหรับการพิจารณาเปรียบเทียบและตัดสินใจต่อโครงการขนส่งระบบราง : The study design and construction of a engineering model railway system is useful as the comparison and decision making for the future railway transportation system project

Researcher       : จักรกฤษณ์ จันทร์เขียว* และ สุดาพร อร่ามรุณ
Department     :  ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

E-mail                :  *ผู้ประสานงานหลัก: green.days@hotmail.co.th

บทคัดย่อ             :  แบบจำลองทางวิศวกรรมระบบรถไฟฟ้าได้ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นประโยชน์สำหรับการสาธิตเชิงแนวคิดในการพิจารณาเปรียบเทียบและตัดสินใจต่อโครงการก่อสร้างขนส่งมวลชนด้วยระบบราง
ระบบรถไฟฟ้าได้ถูกศึกษาออกแบบ และสร้างเป็นแบบจำลองขึ้นมา สำหรับรถไฟฟ้าทั้ง 2 ระบบ คือ 1) รถไฟฟ้าที่ถูกขับเคลื่อนโดยมอเตอร์ประเภทหมุนรอบตัวเองแบบดังเดิมหมุนล้อรถที่เกี่ยวข้องให้วิ่งไปบนรางเดินรถและ 2) รถไฟฟ้าที่ถูกขับดันโดยมอเตอร์ประเภทเชิงเส้นแบบด้านเดียวชนิดขดลวดปฐมภูมิสั้นสมัยใหม่ซึ่งไม่มีส่วนหมุนที่จะหมุนล้อรถ ผลการศึกษาพบว่า ระบบรถไฟฟ้าที่ใช้มอเตอร์ประเภทเชิงเส้นฯ มีประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้าที่สูงและมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานที่ต่ำกว่า ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญทั้งถูกต้องและทันสมัย สำหรับผู้บริหารระดับสูงที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องและรับผิดชอบโครงการดังกล่าวสามารถนำมาใช้ ให้เป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาและตัดสินใจที่ดีขึ้นได้ในโครงการก่อสร้างขนส่งมวลชนด้วยระบบรางที่ต้องใช้เงินลงทุนสูง

คําสําคัญ             :   ระบบรถไฟฟ้า, มอเตอร์ไฟฟ้าประเภทหมุนรอบตัวเอง, มอเตอร์ไฟฟ้าประเภทเชิงเส้น

Abstract            :  The engineering model railway system is useful as the conceptual demonstration in the consideration of the comparison and decision making for the future railway transportation system project. The railway system can be studied, designed, constructed and proposed into 2 systems: 1) the railway system using classical rotating motor to rotate its associated wheels on the railway, and 2) the railway system using modern single-sided short primary linear induction motor with no rotating part to rotate such wheels on the railway. The results showed that railway system using modern single-sided short primary linear induction motor levels are highly energy efficient. And the operating costs are lower. This important, accurate and up to date information can be used as a model that is useful in terms planning and decision-making for executives who are functionally related and responsible for the high investment rail transit systems projects. 

Keywords        :     Railway Systems, Rotary Type Motor, Linear Type Motor

Download PDF:   การศึกษาออกแบบ และสร้างแบบจำลองทางวิศวกรรมระบบรถไฟฟ้า เพื่อใช้เป็นประโยชน์ สําหรับการพิจารณาเปรียบเทียบและตัดสินใจต่อโครงการขนส่งระบบราง


Conference   : งานประชุมวิชาการด้านระบบขนส่งทางรางของประเทศ ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2558 (The 2nd Thailand Rail Academic Symposium : TRAS-2) วันที่ 26-28 สิงหาคม 2558  ณ ณ โรงแรม ท็อปแลนด์ อ.เมือง จ.พิษณุโลก จัดโดย สำนักงานคณะกรรมการ นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.), มหาวิทยาลัยนเรศวร, Korean Railroad Research Institute (KRRI), National Research Council of Science & Technology และหน่วยงานเครือข่ายพัฒนากำลังคนและความเชี่ยวชาญเทคโนโลยีด้านระบบขนส่งทางรางของประเทศ 

Link to Website:   https://www.thairailtech.or.th/

Bibliography     :    จักรกฤษณ์ จันทร์เขียว และ สุดาพร อร่ามรุณ. (2558). การศึกษาออกแบบ และสร้างแบบจำลองทางวิศวกรรมระบบรถไฟฟ้า เพื่อใช้เป็นประโยชน์ สําหรับการพิจารณาเปรียบเทียบและตัดสินใจต่อโครงการขนส่งระบบราง. ใน งานประชุมวิชาการด้านระบบขนส่งทางรางของประเทศ ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2558 (The 2nd Thailand Rail Academic Symposium : TRAS-2). พิษณุโลก: สำนักงานคณะกรรมการ นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ.


 

Quick View

การออกแบบวงจรหารเลขโดยใช้ลอจิกเกท

 

Title              :  การออกแบบวงจรหารเลขโดยใช้ลอจิกเกท: A Design of Divider Circuit by Using Logic Gate

Researcher       : สิทธิพร เพ็ชรกิจ¹, คัมภีร์ ธิราวิทย์¹, สุทธิเกียรติ ชลลาภ² และ วิจิตรา เพ็ชรกิจ³
Department     :  1. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม 38 ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ 10160 เบอร์โทรศัพท์ 02-4570068 ต่อ 140 Email address: sitiporn_2552@yahoo.com, kampree@hotmail.com
2. ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม 38 ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ 10160 เบอร์โทรศัพท์ 02-4570068 Email address: nuclear_ee@yahoo.com
3. สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 222 ต าบลไทยบุรี อ าเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 80160 Email address: pwijittr@wu.ac.th

E-mail                :  ผู้ประสานงานหลัก:  sitiporn_2552@yahoo.com kampree@hotmail.com

บทคัดย่อ             :  บทความนี้ นำเสนอ การออกแบบวงจรหารเลขโดยใช้ลอจิกเกทพื้นฐาน เช่น แอนด์เกท ออเกท และดี-ฟลิปฟลอป มาประกอบเป็นวงจรหารเลข แสดงผลด้วยเซเวนเซ็กเม้นท์ 2 ชุด คือชุดคำตอบของผลหาร และชุดคำตอบของเศษที่ได้ ตามหลักการหารแบบวิธีลบซ้ำๆ นำมาสังเคราะห์เป็นวงจรให้เห็นจริง วงจรที่ออกแบบนี้ได้ทำการทดสอบโดยการจำลองผลการทำงานด้วยโปรแกรม Circuit Wizard ผลจำลองการทำงานแสดงให้เห็นว่าวงจรที่ออกแบบนี้ สามารถทำงานเป็นวงจรหารได้อย่างถูกต้อง

คําสําคัญ             :    วงจรหาร, ลอจิกเกท, การออกแบบ

Abstract            :  This paper presents a design of divider circuit by using logic gate. The used logic gates are simple logic gate such as and gate, or gate and D-flip flop. The divider circuit displays with two seven segment units that are the result unit and the fraction unit. By repeated-subtract divider principle brings to a synthesis of real circuit. The designed circuit is tested by simulating with Circuit Wizard program. The simulation result verifies that this designed circuit can work to be divider circuit.

Keywords        :   divider circuit, logic gate, design

Download PDF:   การออกแบบวงจรหารเลขโดยใช้ลอจิกเกท


Conference   : การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 14 ภายใต้คำขวัญ “ตามรอยพระยุคลบาท เกษตรศาสตร์กำแพงแสน” ระหว่างวันที่ 7-8 ธันวาคม 2560 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

Link to Website:   http://ird.rmutp.ac.th/?p=8247

Bibliography     :    สิทธิพร เพ็ชรกิจ, คัมภีร์ ธิราวิทย์, สุทธิเกียรติ ชลลาภ และ วิจิตรา เพ็ชรกิจ. (2560). การออกแบบวงจรหารเลขโดยใช้ลอจิกเกท. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 14 ภายใต้คำขวัญ “ตามรอยพระยุคลบาท เกษตรศาสตร์กำแพงแสน”. นครปฐม: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.


 

Quick View

ระบบบันไดกําลังไฟฟ้าต่อหน่วยสําหรับการอนุรักษ์พลังงานเครื่องสูบน้ำแบบปรับความเร็วรอบได้ โดยการบูรณาการกฎความสัมพันธ์เข้ากับระเบียบวิธีกําลังสองน้อยที่สุด (2560)

Title              :  ระบบบันไดกําลังไฟฟ้าต่อหน่วยสําหรับการอนุรักษ์พลังงานเครื่องสูบน้ำแบบปรับความเร็วรอบได้ โดยการบูรณาการกฎความสัมพันธ์เข้ากับระเบียบวิธีกําลังสองน้อยที่สุด  : Per-Unit Power Ladder System for Energy Conservation of Variable Speed Pumps by Integrating Affinity Law with Least Square Method

Researcher       : โตมร สุนทรนภา

Department     :  ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
E-mail                :  tomo.soo@siam.edu

บทคัดย่อ             :  บทความนี้เสนอเทคนิคในการประหยัดพลังงานเครื่องสูบจ่ายน้ำแบบปรับความเร็วรอบได้ด้วยการประยุกต์ใช้กฎความสัมพันธ์และการประมาณค่าพารามิเตอร์โดยวิธีกําลังสองน้อยที่สุด รวมเรียกว่าระบบบันไดกําลังไฟฟ้าต่อหน่วย ทําการศึกษากับเครื่องสูบน้ำชนิดแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง จํานวน 4 เครื่อง ของสถานีสูบจ่ายน้ำ โรงงานผลิตน้ำมหาสวัสดิ์จากการศึกษาวิจัยทําให้ได้แบบจําลองแรงดันสูงมอบ เงื่อนไขการสลับเครื่องสูบน้ำในลักษณะขึ้น-ลง และรูปแบบการจัดตารางที่เหมาะสมที่สุด เทคนิคที่นําเสนอได้นําไปทดสอบในการปฏิบัติงานจริง เมื่อนําดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วยผลผลิตมาใช้เป็นเกณฑ์เปรียบเทียบก่อนและหลังศึกษา พบว่าเทคนิคนี้สามารถทําให้เกิดผลประหยัดพลังงานได้มากกว่า 11.59 %
คำสำคัญ             : การอนุรักษ์พลังงาน, เครื่องสูบน้ำแบบปรับความเร็วรอบได้, กฎความสัมพันธ์, วิธีกําลังสองน้อยที่สุด

Abstract            :  This paper presents energy saving techniques for variable speed water pumps. By applying the
affinity law and estimating the least squares parameter, this is called the Per-Unit Power Ladder System. A study is conducted with four centrifugal pumps at distribution pumping station, Mahasawat water treatment plant. Based on the research results, the system provides delivery pressure models, pump-up switching conditions in up-down manner and the optimal scheduling patterns. The techniques presented are tested in actual operation. When the specific energy consumption index used as a comparison before and after study, it has been found that this technique can save energy more than 11.59%

Keywords         : energy conservation, variable speed pump, affinity law, least square method

Download PDF: ระบบบันไดกําลังไฟฟ้าต่อหน่วยสําหรับการอนุรักษ์พลังงานเครื่องสูบน้ำแบบปรับความเร็วรอบได้ โดยการบูรณาการกฎความสัมพันธ์เข้ากับระเบียบวิธีกําลังสองน้อยที่สุด


Link to Conference:   การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13 (E-NETT13th) วันที่ 31 พฤษภาคม – มิถุนายน 2560 , โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม่.   


Bibliography    :  โตมร สุนทรนภา. (2560). ระบบบันไดกําลังไฟฟ้าต่อหน่วยสําหรับการอนุรักษ์พลังงานเครื่องสูบน้ำแบบปรับความเร็วรอบได้ โดยการบูรณาการกฎความสัมพันธ์เข้ากับระเบียบวิธีกําลังสองน้อยที่สุด. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13 (E-NETT13th) วันที่ 31 พฤษภาคม – มิถุนายน 2560, โรงแรมดิเอ็มเพรส (หน้า 1267-1275). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.


Quick View

ระบบรักษาความปลอดภัยในบ้านแจ้งผ่านมือถือ (2558)

 

Title              :  ระบบรักษาความปลอดภัยในบ้านแจ้งผ่านมือถือ : Resident Security System via Mobile Devices

Researcher       : ไวยพจน์ ศุภบวรเสถียร วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ และ ฐปนนท์ สุกุล

Department     :  ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
E-mail                :   vyapotes@hotmail.com, nwipavan@gmail.com

บทคัดย่อ             :  บทความนี้ นำเสนอระบบรักษาความปลอดภัยในบ้านแจ้งผ่านมือถือควบคุมด้วยเครื่องบันทึกภาพ หลักการทำงานของระบบนี้คือ ระบบเตือนภัยตรวจสอบการทำงานประกอบด้วย ตัวตรวจจับประตู และอุปกรณ์ตรวจจับควัน โดยเครื่องบันทึกภาพรอรับคำสั่งจากตัวตรวจจับ เมื่อมีสัญญาณเตือนแจ้งเข้ามายังเครื่องบันทึกภาพแล้วเครื่องบันทึกภาพทำการส่งข้อมูลแจ้งเตือนไปยังมือถือผู้ใช้งานที่แจ้งเตือนผ่านระบบอีเมลล์ และสามารถดูภาพจากกล้องวงจรปิดเมื่อเกิดเหตุการณ์ต่างๆ ขึ้นได้ทันทีโดยผ่านโทรศัพท์มือถือ ซึ่งการออกแบบและสร้างระบบนี้ได้ทำการทดสอบ โดยผลการทดสอบ แสดงให้เห็นถึงการทำงานที่ใช้งานได้จริง

คำสำคัญ             :  ระบบรักษาความปลอดภัย โทรศัพท์มือถือ บ้านพักอาศัย

Abstract            :  This paper presents the resident security system via mobile phone controlled by a digital video recorder (DVR). Principle of the system composes of a door sensor and a smoke detector. They have sent data to the DVR when the signals alarm to it. It can be alerted via E-mail in the mobile. The pictures from the DVR camera are displayed through the mobile phone when an event happens immediately. The design and construction of the system is tested as shown that the results demonstrate the valid works.

Keywords         :  security system, mobile phone, resident

Download PDF:  ระบบรักษาความปลอดภัยในบ้านแจ้งผ่านมือถือ


Proceeding       :  การประชุมวิชาการระดับชาติ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ประจำปี 2558 วันที่ 24-25 กรกฎาคม 2558 มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา APHEIT Conference 2015                               

Link to Proceeding:    http://apheitconference.siam.edu/index.php/en/proceedings-2012-2016


Bibliography    :  ไวยพจน์ ศุภบวรเสถียร, วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ และ ฐปนนท์ สุกุล. (2558). ระบบรักษาความปลอดภัยในบ้านแจ้งผ่านมือถือ. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ประจำปี 2558 (หน้า 333-343). สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่. 


Quick View