การศึกษาความมีวินัยในตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสยาม (2548)

 

Title              :  การศึกษาความมีวินัยในตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสยาม: THE STUDYING SELF-DISCIPLINED ASPECTS IN UNDERGRADUATE STUDENTS OF SIAM UNIVERSITY

Researcher       : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรทิพา ส่องศิริ  อาจารย์วัฒนีย์ ปานจินดา  อาจารย์ณัฏฐา อนุตรลัญจ์
Department     :  Faculty of Nursing, Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                :  jsiamns@siam.edu

บทคัดย่อ             :  การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความมีวินัยในตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยสยาม โดยรวมและเป็นรายด้าน 7 ด้าน ได้แก่ ความรับผิดชอบ ความเชื่อมั่นในตนเอง ความเป็นผู้นํา ความอดทน ความซื่อสัตย์ ความเสียสละและการรักษาระเบียบใจ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาที่กําลังศึกษาในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสยาม จํานวน 531 คน ทําการสุ่มกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสอบถามความมีวินัยในตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ t-test, F-test และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่โดยวิธีการของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1) นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสยาม มีความมีวินัยในตนเองโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า นักศึกษามีความมีวินัยในตนเองด้านความเป็นผู้นํา ความรับผิดชอบ ความอดทน ความซื่อสัตย์ ความเสียสละ และการรักษาระเบียบใจอยู่ในระดับมาก ยกเว้นด้านความเชื่อมั่นในตนเองอยู่ในระดับปานกลาง
2) ค่าเฉลี่ยของความมีวินัยในตนเองโดยรวมของนักศึกษาหญิงสูงกว่านักศึกษาชาย อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3) นักศึกษาแต่ละคณะ ระดับชั้น ความเข้มงวดในการมีระเบียบวินัยของคณาจารย์ ลักษณะการอบรมเลี้ยงดูต่างกัน มีความมีวินัยในตนเองโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

คำสำคัญ             :  ความมีวินัยในตนเอง นักศึกษา

Abstract            :  The study was descriptive research. The purpose of this study was to determine self-disciplined aspects in undergraduate students of Siam University The self-disciplined aspects composed of responsibility, self-confidence, leadership, patience, honesty, sacrifice and reserving one’s attitude. The subjects were 531 undergraduate students of Siam University that were required from stratified random sampling. The instrument was the self-disciplined aspects questionnaire of undergraduate students that had interrater reliability of 0.89. Data was analyzed by t-test, F-test, and Major finding were as follows:
1) The undergraduate students of Siam University have had the high level of self- disciplined aspects. Considering each an aspect has found that they had the high level in leadership, responsibility, patience, honesty, sacrifice and reserving one’s attitude but they had the moderate level of self-confidence.
2) The mean score of self- disciplined aspects of the female group were significantly higher than the male group at the .05 level.
3) The self- disciplined aspects were significantly different at the .05 level in the difference of grade, the strict-disciplined of instructors on student and admonishment of parents.

Keywords         :  self- disciplined aspects, undergraduate students


Research          :    รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาความมีวินัยในตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสยาม                            

Link to Research:    http://www.research-system.siam.edu/2013-12-20-03-57-52/251-2013-12-20-05-58-109

Bibliography   :  อรทิพา ส่องศิริ, วัฒนีย์ ปานจินดา และ ณัฏฐา อนุตรลัญจ์. (2548). การศึกษาความมีวินัยในตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสยาม (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม. 


Quick View
วารสารเทคโนโลยีการอาหาร -มหาวิทยาลัยสยาม- ปีที่1-ฉบับที่1-มิย-2547-พค-2548 Journal-of-food-technology-siam-university-vol1-no1-jun-2004-may-2005

วารสารเทคโนโลยีการอาหาร ปีที่1 ฉบับที่1 มิ.ย.2547–พ.ค.2548

สาระสังเขป

กองจัดการวารสาร วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม


บทความวิชาการ (Academic Article)

[mfn]ณัฏฐิกา ศิลาลาย และ ชัชวาล โชติมากร. (2548). การใช้ Thin Layer Chromatography ในการวิเคราะห์ทางด้านอาหารและการเกษตร. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 1(1), 7-11.[/mfn]   การใช้ Thin Layer Chromatography ในการวิเคราะห์ทางด้านอาหารและการเกษตร : Thin Layer Chromatography in Food and Agricultural Analysis

ณัฏฐิกา ศิลาลาย และ ชัชวาล โชติมากร


[mfn]รัตนา จินดาพรรณ. (2548). ฟองในอาหาร. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 1(1), 12-16.[/mfn]   ฟองในอาหาร (Food Foams)

รัตนา จินดาพรรณ


บทความวิจัย (Research Articles)

[mfn]ชุติมา อัศวเสถียร, ปิยนุสร์ น้อยด้วง และ วีรุต วีรุตมเสน. (2548). การผลิตไส้กรอกเวียนนาโดยการใช้เห็ดนางฟ้าทดแทนเนื้อหมูบางส่วน. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 1(1), 17-23.[/mfn]   การผลิตไส้กรอกเวียนนาโดยการใช้เห็ดนางฟ้าทดแทนเนื้อหมูบางส่วน: Production of Vienna Sausage Using Pork Partial Substituted with Pleurotus sajor-caju

ชุติมา อัศวเสถียร, ปิยนุสร์ น้อยด้วง, วีรุต วีรุตมเสน


[mfn]ปิยนุสร์ น้อยด้วง และ ปัทมา คล้ายจันทร์. (2548). การผลิตโยเกิร์ตกล้วยหอม. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 1(1), 24-30.[/mfn]   การผลิตโยเกิร์ตกล้วยหอม: Production of Yoghurt Mixed Gross Michel Banana

ปิยนุสร์ น้อยด้วง และ ปัทมา คล้ายจันทร์


[mfn]จิรนาถ บุญคง และ นงค์นุช วงษ์แก้ว. (2548). การผลิตไอศกรีมนํ้านมถั่วเหลือง. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 1(1), 31-39.[/mfn]   การผลิตไอศกรีมนํ้านมถั่วเหลือง: Production of Soybean Milk Ice Cream

จิรนาถ บุญคง และ นงค์นุช วงษ์แก้ว

[mfn]ไพรัตน์ โชควิบูลย์กิจ. (2548). การวิเคราะห์หาปริมาณคาเฟอีนในเครื่องดื่มโคล่าโดยวิธีการสกัดและสเปกโตรโฟโตเมตรี. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 1(1), 40-44.[/mfn]   การวิเคราะห์หาปริมาณคาเฟอีนในเครื่องดื่มโคล่าโดยวิธีการสกัดและสเปกโตรโฟโตเมตรี: Quantitative Analysis of Caffeine in Cola Beverage by Extraction and Spectrophotometry

ไพรัตน์ โชควิบูลย์กิจ

[mfn]รัตนา จินดาพรรณ, จิรนาถ บุญคง และ จีรศักด์ แก้วเกิด. (2548). การผลิตฟิล์มจากโปรตีนถั่วเขียว. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 1(1), 45-52.[/mfn]   การผลิตฟิล์มจากโปรตีนถั่วเขียว: Production of Film from Mung Bean Protein Isolate

รัตนา จินดาพรรณ, จิรนาถ บุญคง และ จีรศักด์ แก้วเกิด

–    ใบสมัครขอส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม คำแนะนำสำหรับผู้เขียนวารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม (Guidelines for Authors in Journal of Food Technology, Siam University)


–    หลักสูตรเทคโทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

 

Quick View
สยามวิชาการ-มหาวิทยาลัยสยาม

สยามวิชาการ ปีที่6 ฉบับที่6 ปี 2548

[mfn]อรรถพล ตรีมั่นคง และ ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์. (2548) (ผู้แปล). เศรษฐศาสตร์แห่งสันติภาพ. สยามวิชาการ, 6(1), 5-12. (แปลจาก “The Economics of Peace and Prosperity” by Clive W.J. Granger, 1998)[/mfn]   เศรษฐศาสตร์แห่งสันติภาพ

อรรถพล ตรีมั่นคง และ ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์


[mfn]ปรัชญา ปิ่นมณี. (2548). การเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาว กรณีศึกษาประเทศไทย. สยามวิชาการ, 6(1), 13-21.[/mfn]   การเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาว กรณีศึกษาประเทศไทย

ปรัชญา ปิ่นมณี


[mfn]Nuttapon Nimmanphatcharin. (2005). STRATEGIC MANAGEMENT PRACTICES BY SELECTED THAI BANKS AND FINANCIAL ORGANISATIONS: PLANNING AND PLANNING SYSTEM. Siam Academic Review, 6(1), 22-44.[/mfn]   STRATEGIC MANAGEMENT PRACTICES BY SELECTED THAI BANKS AND FINANCIAL
ORGANISATIONS: PLANNING AND PLANNING SYSTEM

Nuttapon Nimmanphatcharin


[mfn]ชลิศา รัตรสาร. (2548). การค้าไทย – ลาว : ความพึ่งพาที่ไทยให้ลาว. สยามวิชาการ, 6(1), 45-57.[/mfn]   การค้าไทย – ลาว : ความพึ่งพาที่ไทยให้ลาว

ชลิศา รัตรสาร


[mfn]Jomphong Mongkhonvanit. (2005). What Education can Learn from Business? Siam Academic Review, 6(1), 58-60.[/mfn]    What Education can Learn from Business?

Jomphong Mongkhonvanit


[mfn]เบญจวรรณ อุชุพงศ์อมร. (2548). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความสำเร็จในการบริหารงานขาย. สยามวิชาการ, 6(1), 61-69.[/mfn]   ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความสำเร็จในการบริหารงานขาย

เบญจวรรณ อุชุพงศ์อมร


[mfn]แพรภัทรา เขียวชะอุ่ม. (2548). ความสำคัญของจริยธรรมทางธุรกิจและความรับผิดชอบต่อสังคม. สยามวิชาการ, 6(1), 70-82.[/mfn]   ความสำคัญของจริยธรรมทางธุรกิจและความรับผิดชอบต่อสังคม

แพรภัทรา เขียวชะอุ่ม


[mfn]กิตติชัย ถาวรธรรมฤทธิ์. (2548). กลยุทธ์การบัญชีเพื่อการวางแผนภาษีเงินได้นิติบุคคล.  สยามวิชาการ, 6(1), 83-88.[/mfn]   กลยุทธ์การบัญชีเพื่อการวางแผนภาษีเงินได้นิติบุคคล

กิตติชัย ถาวรธรรมฤทธิ์


วารสารสยามวิชาการ ปีที่ 6 เล่มที่ 1 ฉบับที่ 6 เม.ษ. 2548 – ก.ย. 2548 Siam Academic Review Vol. 6 No.1 Issue 6 Apr 2005 – Sep 2005

Quick View