กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณลักษณะของนักการเมือง บนฐานทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง
[mfn]ปอรรัชม์ ยอดเณร และ ชนิตา รักษ์พลเมือง. (2557). กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณลักษณะของนักการเมือง บนฐานทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง. วารสารครุศาสตร์, 42(2), 45-56.[/mfn] กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณลักษณะของนักการเมือง บนฐานทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง
ปอรรัชม์ ยอดเณร และ ชนิตา รักษ์พลเมือง
Professor Emeritus Dr.Chanita Rukspollmuang
การก้าวสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยที่ยั่งยืนของมหาวิทยาลัยสยาม: นโยบายและแนวปฏิบัติ
Title : การก้าวสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยที่ยั่งยืนของมหาวิทยาลัยสยาม: นโยบายและแนวปฏิบัติ : Pathway towards Sustainable University: Policy and Practice of Siam University
Researcher : 1.ศ.ดร.ชนิตา รักษ์พลเมือง, 2.อาจารย์สุวิจักขณ์ บุญมี, 3.อาจารย์นารี รมย์นุกูล และ 4.อาจารย์ประพันธ์ จันทร์เสมา
Department : 1.ผู้ช่วยอธิการบดี และอาจารย์ประจำสาขาวิชาสันติภาพการศึกษาและการทูต บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสยาม 38 ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขต
ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160
2.ภาควิชาการจัดการทั่วไป คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม 38 ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160
3.ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม 38 ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160
4.ภาควิชาการจัดการทั่วไป คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม 38 ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160
E-mail : ผู้นำเสนอผลงาน praphan5@hotmail.com
บทคัดย่อ : ความยั่งยืน เป็นนโยบายหลักของมหาวิทยาลัยสยามโดยได้รับการบรรจุเป็นหนึ่งในสามเสาหลักของแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และมีการดำเนินโครงการทั้งในระดับท้องถิ่น และนานาชาติในด้านวิชาการได้มีการปรับปรุงรายวิชาการศึกษาทั่วัไปโดยเปิดรายวิชาที่จะพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจและมีความตระหนักถึงการพัฒนาที่ยั่งยืน ทั้งในด้านสิ่งแวดล้อม ความรับผิดชอบต่อสังคม และเศรษฐกิจโดยเฉพาะการเปิดรายวิชา 100-101 หลักเศรษฐศาสตร์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นรายวชิาหลักสำหรับนักศึกษา การเรียนการสอนในรายวิชานี้ไดรับการปรับปรุงเป็นระยะโดยปัจจุบันได้ใช้นวัตกรรมการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) และการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) โดยให้ผู้รียนทำโครงการที่จะเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน รอบมหาวิทยาลัยในเขตภาษีเจริญตามนโยบาย “Sustainable University, Sustainable District” ส่วนในด้านการวิจัยและบริการสังคมได้สนับสนุนโครงการที่ช่วยสร้างความยั่งยืนให้แก่ชุมชน อาทิการจัดตั้งศูนย์วิจัย เพื่อพัฒนาชุมชนที่มีความมุ่งหมายจะพัฒนาพื้นที่สุขภาวะเขตภาษีเจริญ และได้มีการสร้างภาคีเครือข่ายการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะที่ทำงานแบบบูรณาการทั้งภาครัฐ เอกชน ชุมชน ส่วนในระดับนานาชาติมหาวิทยาลยัสยามได้ร่วมกบั Asia e University เป็นผู้นำในการก่อตั้ง ACD University Network (ACD-UN) ซึ่งได้มีการตั้งเครือข่ายการวิจัยหรือ ACD Research Network โดยมีเครือข่ายการวิจัยหนึ่งคือ เครือข่ายการวิจัยด้านการพัฒนาที่ยั่งยืน/ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คําสําคัญ : มหาวิทยาลัยที่ยั่งยืน มหาวิทยาลัยสยาม นโยบายแนวปฏิบัติ
Bibliography : ชนิตา รักษ์พลเมือง, สุวิจักขณ์ บุญมี, นารี รมย์นุกูล และ ประพันธ์ จันทร์เสมา. (2559). การก้าวสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยที่ยั่งยืนของมหาวิทยาลัยสยาม: นโยบายและแนวปฏิบัติ. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายมหาวิทยาลัยยั่งยืนประเทศไทย The1″ Annual Conference of Sustainabel University Network of Thailand “Sustainable Practice on higher Education Conference”. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.
Conference : การประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายมหาวิทยาลัยยั่งยืนประเทศไทย The1″ Annual Conference of Sustainabel University Network of Thailand “Sustainable Practice on higher Education Conference” เมื่อวันที่ 28 และ 29 พฤศจิกายน 2559 ณ ห้อง 411 อาคารศูนย์การเรียนรู้มหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล
Link to Conference: http://www.sunthailand.org/news/new-sun-591128.html
Download PDF : การก้าวสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยที่ยั่งยืนของมหาวิทยาลัยสยาม: นโยบายและแนวปฏิบัติ
การนำเสนอกระบวนการเสริมพลังชุมชนในการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
[mfn]ณัฐปภัสร์ วรธันย์ผาสุข และ ชนิตา รักษ์พลเมือง. (2557). การนำเสนอกระบวนการเสริมพลังชุมชนในการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 9(2), 283-296.[/mfn] การนำเสนอกระบวนการเสริมพลังชุมชนในการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ณัฐปภัสร์ วรธันย์ผาสุข และ ชนิตา รักษ์พลเมือง
Professor Emeritus Dr.Chanita Rukspollmuang
การนำเสนอยุทธศาสตร์การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสันติวัฒนธรรมโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน
[mfn]ศศิรัศม์ วีระไวทยะ และ ชนิตา รักษ์พลเมือง. (2557). การนำเสนอยุทธศาสตร์การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสันติวัฒนธรรมโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน. วารสารครุศาสตร์, 42(2), 117-130.[/mfn] การนำเสนอยุทธศาสตร์การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสันติวัฒนธรรมโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน
ศศิรัศม์ วีระไวทยะ และ ชนิตา รักษ์พลเมือง
Professor Emeritus Dr.Chanita Rukspollmuang
การพัฒนากระบวนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา
[mfn]ชนิตา รักษ์พลเมือง, ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง, กมลวรรณ ตังธนกานนท์, เฟื่องอรุณ ปรีดีดิลก และ สุมิตร สุวรรณ. (2556). การพัฒนากระบวนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 26(3), 301-321.[/mfn] การพัฒนากระบวนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา
ชนิตา รักษ์พลเมือง, ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง, กมลวรรณ ตังธนกานนท์, เฟื่องอรุณ ปรีดีดิลก และ สุมิตร สุวรรณ
Professor Emeritus Dr.Chanita Rukspollmuang
การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ศิลปะเพื่อส่งเสริมจิตสำนึกในการอยู่ร่วมกัน ในบริบทการเรียนรวมระหว่างนักเรียนไทยและนักเรียนข้ามชาติ
[mfn]เสริตา เจือศรีกุล อภิชาติ พลประเสริฐ และ ชนิตา รักษ์พลเมือง. (2561). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ศิลปะเพื่อส่งเสริมจิตสำนึกในการอยู่ร่วมกัน ในบริบทการเรียนรวมระหว่างนักเรียนไทยและนักเรียนข้ามชาติ. วารสารครุศาสตร์, 46(4), 419-438.[/mfn] การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ศิลปะเพื่อส่งเสริมจิตสำนึกในการอยู่ร่วมกัน ในบริบทการเรียนรวมระหว่างนักเรียนไทยและนักเรียนข้ามชาติ
เสริตา เจือศรีกุล อภิชาติ พลประเสริฐ และ ชนิตา รักษ์พลเมือง
Professor Emeritus Dr.Chanita Rukspollmuang
การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการเป็นผู้สูงอายุที่ยังคุณประโยชน์
[mfn]เรวดี จันทเปรมจิตต์, ชนิตา รักษ์พลเมือง และ วิพรรณ ประจวบเหมาะ. (2559). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการเป็นผู้สูงอายุที่ยังคุณประโยชน์. วารสารครุศาสตร์, 44(3), 160-175[/mfn] การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการเป็นผู้สูงอายุที่ยังคุณประโยชน์
เรวดี จันทเปรมจิตต์, ชนิตา รักษ์พลเมือง และ วิพรรณ ประจวบเหมาะ
Professor Emeritus Dr.Chanita Rukspollmuang
การพัฒนาองค์ความรู้และพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินมาตรฐานผู้เรียนอย่างรอบด้านในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
[mfn]เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์, ชนิตา รักษ์พลเมือง, อวยพร เรืองตระกูล, ทิพย์ฆัมพร เกษโกมล, โสมฉาย บุญญานันต์ และ มิ่งขวัญ ศิริโชติ. (2559). การพัฒนาองค์ความรู้และพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินมาตรฐานผู้เรียนอย่างรอบด้านในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 29(1), 1-14.[/mfn] การพัฒนาองค์ความรู้และพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินมาตรฐานผู้เรียนอย่างรอบด้านในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์, ชนิตา รักษ์พลเมือง, อวยพร เรืองตระกูล, ทิพย์ฆัมพร เกษโกมล, โสมฉาย บุญญานันต์ และ มิ่งขวัญ ศิริโชติ
Professor Emeritus Dr.Chanita Rukspollmuang
การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของเด็กมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
[mfn]มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮ์, ชนิตา รักษ์พลเมือง และ พรรณี บุญประกอบ. (2560). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของเด็กมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 9(1), 81-96.[/mfn] การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของเด็กมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮ์, ชนิตา รักษ์พลเมือง และ พรรณี บุญประกอบ
Professor Emeritus Dr.Chanita Rukspollmuang