Three-dimensional evaluation of the depressor anguli oris and depressor labii inferioris for botulinum toxin injections (2021)

Title           : Three-dimensional evaluation of the depressor anguli oris and depressor labii inferioris for botulinum toxin injections

Researcher       : Choi, Y.-J.We, Y.-J.Lee, H.-J., …Tansatit, T.Kim, H.-J.

Abstract            : Background: Botulinum toxin type A (BoNT-A) injection administered at an inappropriate site or depth can produce an unwanted change in facial animation because the depressor anguli oris (DAO) and depressor labii inferioris (DLI) muscles are partially overlapped. Therefore, simple BoNT-A injection guidelines, based on 3-dimensional (3D) facial anatomic references and landmarks, would be very useful.

Objectives: The aim of this study was to establish novel BoNT-A injection guidelines that include the soft tissue thickness at the lower perioral region. Data were acquired with a 3D scanning system combined with dissections in order to obtain accurate injection sites and depths for the DAO and DLI.
Methods: 3D scans of the facial skin, superficial fat, and facial muscle surface were performed in 45 embalmed cadavers. The thicknesses of the skin and subcutaneous layer were calculated automatically from superimposed images at each of 5 reference points (P) in the perioral region.
Results: In every case (100%), P3 and P5 were located in the DLI and DAO areas, respectively (45/45). Therefore, we defined P3 as the “DLI point” and P5 as the “DAO point.” The soft tissue thicknesses at the DLI and DAO points were 6.4 [1.7] mm and 6.7 [1.8] mm, respectively.
Conclusions: The P3 and P5 described in this study are effective guidelines that only target the DLI and DAO. Clinicians, specifically, can easily use facial landmarks, such as the cheilion and pupil, to assign the DLI and DAO points without any measurement or palpation of the modiolus.

Link to Academic article: https://doi.org/10.1093/asj/sjaa083


Journal : Aesthetic Surgery Journal2021, 41(6).


Bibliography     : Choi, Y. J.We, Y. J.Lee, H. J.Lee, K. W., Gil, Y. C., Tansatit, T.Kim, H. J. (2021). Three-dimensional evaluation of the depressor anguli oris and depressor labii inferioris for botulinum toxin injections. Aesthetic Surgery Journal, 41(6), NP456–NP461. https://doi.org/10.1093/asj/sjaa083    

 


 

Quick View

Tuna blood inhibits lipopolysaccharide-induced inflammatory mediators in RAW264.7 macrophages (2021)

Title              :  Tuna blood inhibits lipopolysaccharide-induced inflammatory mediators in RAW264.7 macrophages

Researcher       : Wanwimol Klaypradit, Mantira Hawangjoo, Nujamee Ngasakul, Pennapa Chonpathompikunlert, Maruj Limpawattana, Wanida Sukketsiri

Department     : สำนักอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม

E-mail                : maruj.lim@siam.edu

ฐานข้อมูลงานวิจัย มหาวิทยาลัยสยาม            :  –


Link to article: Functional Foods in Health and Disease, 2021, 11(4), 201-212. https://doi.org/10.31989/ffhd.v11i4.785


Journal : Functional Foods in Health and Disease / in Scopus


Bibliography     :  Klaypradit, W.,Hawangjoo, M., Ngasakul, N., Chonpathompikunlert, P.Limpawattana, M., & Sukketsiri, W. (2021). Tuna blood inhibits lipopolysaccharide-induced inflammatory mediators in RAW264.7 macrophages. Functional Foods in Health and Disease, 11(4), 201-212. https://doi.org/10.31989/ffhd.v11i4.785


 

Quick View

ความสัมพันธ์ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคมกับความเครียดของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท (2564)

ชื่อบทความ       : ความสัมพันธ์ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคมกับความเครียดของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท

Title              : The Relationship Between Social Support and Stress of Caregivers Caring for Patients with Schizophrenia

ผู้เขียน/Author  : ลัญชนา พิมพันธ์ชัยยบูลย์, ศุภารัญ ผาสุข, นฤมล อังศิริศักดิ์, นฐมน บูญล้อม และ สุสารี ประคินกิจ

Researcher       : Lunchana Phimphanchaiyaboon, Suparun Phasuk, Nuruemol Angsirisak, Natamon Boonlom & Susaree Prakhinkit

Department     : * Faculty of Nursing, Siam University, Bangkok, Thailand

ฐานข้อมูลงานวิจัย มหาวิทยาลัยสยาม    : https://e-research.siam.edu/kb/the-relationship-between-social-support/

Link to article : วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล ปีที่ 37 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม) พ.ศ. 2564 | Journal of Health and Nursing Research Volume 37 No.2 September-Dember 2021 https://he01.tci-thaijo.org/index.php/bcnbangkok/article/view/251415


Link to Published: วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล  / TCI 1


Bibliography     :  ลัญชนา พิมพันธ์ชัยยบูลย์, ศุภารัญ ผาสุข, นฤมล อังศิริศักดิ์, นฐมน บูญล้อม และ สุสารี ประคินกิจ. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคมกับความเครียดของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท. ารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี, 17(3), 54-64.


 

Quick View

ผลของอุณหภูมิที่มีต่อความต้านทานความร้อนของแบคทีเรียชอบเกลือ และทนความร้อนในน้ำปลาโซเดียมต่ำ(2564)

Title           : ผลของอุณหภูมิที่มีต่อความต้านทานความร้อนของแบคทีเรียชอบเกลือ และทนความร้อนในน้ำปลาโซเดียมต่ำ (Effect of Temperature on Heat Resistance of Halophilic and Thermotolerant Bacteria in Low Sodium Fish Sauce)

Researcher       : เกศรา แซกพุทรา, หัตถ์ชนก วัฒนเลิศสุวัตร, อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์ และ ณฐมล จินดาพรรณ

ฐานข้อมูลงานวิจัย มหาวิทยาลัยสยาม            :  https://e-research.siam.edu/kb/effect-of-temperature-on-heat-resistance/


Link to article: รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 8 (หน้า 265-274). https://drive.google.com/file/d/1ZUyOUPUUOimJI5z-b6IsTnC-W85gzD46/view


 Publication: การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 8 (ASTC2021)  / in  Proceeding


Citation : เกศรา แซกพุทรา, หัตถ์ชนก วัฒนเลิศสุวัตร, อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์ และ ณฐมล จินดาพรรณ. (2564). ผลของอุณหภูมิที่มีต่อความต้านทานความร้อนของแบคทีเรียชอบเกลือ และทนความร้อนในน้ำปลาโซเดียมต่ำ. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน (ASCT)ครั้งที่ 8 (หน้า 265-274). มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.

Quick View

รายวิชา 135-305: การจัดการการส่งออกและนำเข้า

Title:  รายวิชา 135-305: การจัดการการส่งออกและนำเข้า 

อาจารย์ผู้สอน:   อาจารย์ อรนุช อินทวงศ์


[dflip id="7795"][/dflip]

Bibliography :   อรนุช อินทวงศ์. (2564). การจัดการการส่งออกและนำเข้า (เอกสารประกอบการสอน). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.


 

Quick View

เส้นใยนาโนและการประยุกต์ใช้เป็นหน้ากากอนามัย (2564)

เส้นใยนาโนและการประยุกต์ใช้เป็นหน้ากากอนามัย (2564)

ผู้เขียนบทความ: ดร.ภญ.นวินดา ชินะตังกูร และ นศภ.ร่มฟ้า บุญสุข

บทคัดย่อ:

ในช่วงที่ผ่านมา ประเทศไทยประสบปัญหาจากมลพิษทางอากาศ โดยเฉพาะฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 และปัญหาจากโรคระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) ซึ่งส่งผลให้ปริมาณการใช้หน้ากากอนามัยเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก ปัจจุบันจึงได้มีการพัฒนาเส้นใยนาโนด้วยเทคโนโลยีการผลิตแบบอิเล็กโตรสปินนิง โดยเส้นใยที่ได้จะมีคุณสมบัติพิเศษ คือ มีขนาดเล็ก ส่งผลให้มีลักษณะเป็นรูพรุนขนาดเล็กจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีอัตราส่วนระหว่างพื้นผิวต่อปริมาตรสูง ซึ่งส่งผลให้ประสิทธิภาพในการกรองและความสามารถในการดักจับอนุภาคเพิ่มสูงขึ้น นอกจากประสิทธิภาพในการกรองอนุภาคและดักจับเชื้อที่เพิ่มสูงขึ้นแล้ว หน้ากากเส้นใยนาโนยังมีคุณสมบัติพิเศษอื่นๆ ได้แก่ สามารถป้องกันการซึมผ่านของของเหลว สามารถระบายอากาศได้ดี หายใจได้สะดวก สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ มีความแนบกระชับกับใบหน้า และมีความแข็งแรงทนทาน

คำสำคัญ: หน้ากากอนามัย เส้นใยนาโน อิเล็กโตรสปินนิง ไวรัสโคโรนา PM2.5

Link to Academic article: เส้นใยนาโนและการประยุกต์ใช้เป็นหน้ากากอนามัย

Quick View

แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคตาแห้ง (2564)

แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคตาแห้ง (2564)

ผู้เขียนบทความ: อ.ภญ.ทิพย์วิไล ทวีพันธุรัตน์

บทคัดย่อ:

โรคตาแห้ง หรือ dry eye disease เป็นโรคทางตาที่พบบ่อย และเป็นปัญหาสำคัญที่นำผู้ป่วยมารับบริการที่ร้านยา หรือสถานพยาบาล ซึ่งส่งผลรบกวนคุณภาพชีวิต จนถึงอาจเกิดการสูญเสียการมองเห็นได้ จากการศึกษาของ Stapleton และคณะ ปี ค.ศ. 2017 ซึ่งเป็นการศึกษาทางระบาดวิทยาที่รวบรวมความชุก อุบัติกาณ์ และปัจจัยเสี่ยงของโรคตาแห้ง ผลการศึกษาพบว่า ความชุกในการเกิดโรคตาแห้ง อยู่ในช่วงร้อยละ 5 ถึง 50 ของประชากรทั่วโลก1 ซึ่งพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย พบได้ในทุกช่วงอายุ และพบมากในผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า หรือเท่ากับ 75 ปีขึ้นไป2 โรคตาแห้งเป็นโรคที่มีแนวโน้มการเกิดโรคเพิ่มสูงขึ้น การรักษาโรคตาแห้งอย่างมีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งที่สำคัญ เป็นองค์ความรู้ที่เภสัชกรควรมีความรู้ และความเข้าใจ เนื่องจากบทบาทเภสัชกรชุมชนในโรคตาแห้ง สามารถเป็นด่านแรกที่ช่วยประเมิน เลือกใช้ยาในการรักษา ให้คำแนะนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ส่งผลต่อโรคตาแห้ง และสามารถส่งต่อผู้ป่วยที่มีอาการโรคตาแห้งรุนแรงไปรักษาที่สถานพยาบาลได้ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ป่วย บทความจะเน้นถึงสาเหตุการเกิดโรคตาแห้ง อาการแสดงทางคลินิก การวินิจฉัยโรคตาแห้ง และการรักษาโรคตาแห้งด้วยการใช้ยา

คำสำคัญ: โรคตาแห้ง, แนวทางการรักษา, น้ำตาเทียม

Link to Academic article: แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคตาแห้ง

Quick View