สยามวิชาการ ปีที่6 ฉบับที่6 ปี 2548
[mfn]อรรถพล ตรีมั่นคง และ ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์. (2548) (ผู้แปล). เศรษฐศาสตร์แห่งสันติภาพ. สยามวิชาการ, 6(1), 5-12. (แปลจาก “The Economics of Peace and Prosperity” by Clive W.J. Granger, 1998)[/mfn] เศรษฐศาสตร์แห่งสันติภาพ
อรรถพล ตรีมั่นคง และ ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์
[mfn]ปรัชญา ปิ่นมณี. (2548). การเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาว กรณีศึกษาประเทศไทย. สยามวิชาการ, 6(1), 13-21.[/mfn] การเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาว กรณีศึกษาประเทศไทย
ปรัชญา ปิ่นมณี
[mfn]Nuttapon Nimmanphatcharin. (2005). STRATEGIC MANAGEMENT PRACTICES BY SELECTED THAI BANKS AND FINANCIAL ORGANISATIONS: PLANNING AND PLANNING SYSTEM. Siam Academic Review, 6(1), 22-44.[/mfn] STRATEGIC MANAGEMENT PRACTICES BY SELECTED THAI BANKS AND FINANCIAL
ORGANISATIONS: PLANNING AND PLANNING SYSTEM
Nuttapon Nimmanphatcharin
[mfn]ชลิศา รัตรสาร. (2548). การค้าไทย – ลาว : ความพึ่งพาที่ไทยให้ลาว. สยามวิชาการ, 6(1), 45-57.[/mfn] การค้าไทย – ลาว : ความพึ่งพาที่ไทยให้ลาว
ชลิศา รัตรสาร
[mfn]Jomphong Mongkhonvanit. (2005). What Education can Learn from Business? Siam Academic Review, 6(1), 58-60.[/mfn] What Education can Learn from Business?
Jomphong Mongkhonvanit
[mfn]เบญจวรรณ อุชุพงศ์อมร. (2548). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความสำเร็จในการบริหารงานขาย. สยามวิชาการ, 6(1), 61-69.[/mfn] ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความสำเร็จในการบริหารงานขาย
เบญจวรรณ อุชุพงศ์อมร
[mfn]แพรภัทรา เขียวชะอุ่ม. (2548). ความสำคัญของจริยธรรมทางธุรกิจและความรับผิดชอบต่อสังคม. สยามวิชาการ, 6(1), 70-82.[/mfn] ความสำคัญของจริยธรรมทางธุรกิจและความรับผิดชอบต่อสังคม
แพรภัทรา เขียวชะอุ่ม
[mfn]กิตติชัย ถาวรธรรมฤทธิ์. (2548). กลยุทธ์การบัญชีเพื่อการวางแผนภาษีเงินได้นิติบุคคล. สยามวิชาการ, 6(1), 83-88.[/mfn] กลยุทธ์การบัญชีเพื่อการวางแผนภาษีเงินได้นิติบุคคล
กิตติชัย ถาวรธรรมฤทธิ์
วารสารสยามวิชาการ ปีที่ 6 เล่มที่ 1 ฉบับที่ 6 เม.ษ. 2548 – ก.ย. 2548 Siam Academic Review Vol. 6 No.1 Issue 6 Apr 2005 – Sep 2005
สยามวิชาการ ปีที่7 ฉบับที่7 ปี 2549
[mfn]โสภิต ทะสังขา และ สมพร ปานยินดี. (2549). การศึกษาภาวะการมีงานทำและการศึกษาต่อของบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2546. สยามวิชาการ, 7(1), 1-6.[/mfn] การศึกษาภาวะการมีงานทำและการศึกษาต่อของบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการทั่วไป คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2546
โสภิต ทะสังขา และ สมพร ปานยินดี
[mfn]ชลิศา รัตรสาร. (2549). บทความงานวิจัย ทัศนคติต่อการเรียนวิชา 133-403 การตลาดระหว่างประเทศ. สยามวิชาการ, 7(1), 7-13.[/mfn] บทความงานวิจัย ทัศนคติต่อการเรียนวิชา 133-403 การตลาดระหว่างประเทศ
ชลิศา รัตรสาร
[mfn]มัลลิกา เวสประชุม. (2549). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับบทเรียนทางอินเตอร์เน็ทและผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักศึกษา (กรณีศึกษาวิชาการวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ). สยามวิชาการ, 7(1), 14-19.[/mfn] การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับบทเรียนทางอินเตอร์เน็ทและผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักศึกษา (กรณีศึกษาวิชาการวิเคราะห์เชิงปริมาณทางธุรกิจ)
มัลลิกา เวสประชุม
[mfn]ขวัญใจ อุณหวัฒนไพบูลย์. (2549). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการคัดลอกการบ้านของนักศึกษา. สยามวิชาการ, 7(1), 20-24.[/mfn] ปัจจัยที่ส่งผลต่อการคัดลอกการบ้านของนักศึกษา
ขวัญใจ อุณหวัฒนไพบูลย์
[mfn]พิจักษณ์ จันทวิโรจน์. (2549). ความสัมฤทธิ์ผลในการเรียนวิชาบัญชีขั้นสูง 1 โดยการใช้กรณีศึกษา. สยามวิชาการ, 7(1), 25-27.[/mfn] ความสัมฤทธิ์ผลในการเรียนวิชาบัญชีขั้นสูง 1 โดยการใช้กรณีศึกษา
พิจักษณ์ จันทวิโรจน์
[mfn]พิจักษณ์ จันทวิโรจน์. (2549). ความสัมฤทธิ์ผลในการเรียนวิชาบัญชีขั้นสูง 1 โดยการใช้กรณีศึกษา. สยามวิชาการ, 7(1), 25-27.[/mfn] จริยธรรมของผู้ประกอบการ : ความรับผิดชอบในสินค้าที่ชำรุดบกพร่อง
พิจักษณ์ จันทวิโรจน์
[mfn]สมพร ปานยินดี. (2549). การแปลงทรัพย์สินเป็นทุน กับการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ของไทย. สยามวิชาการ, 7(1), 33-44.[/mfn] การแปลงทรัพย์สินเป็นทุน กับการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ของไทย
สมพร ปานยินดี
[mfn]กิตติชัย ถาวรธรรมฤทธิ์. (2549). ตัดหนี้สูญอย่างไรให้เป็นประโยชน์แก่กิจการ. สยามวิชาการ, 7(1), 45-49.[/mfn] ตัดหนี้สูญอย่างไรให้เป็นประโยชน์แก่กิจการ
กิตติชัย ถาวรธรรมฤทธิ์
วารสารสยามวิชาการ ปีที่ 7 เล่มที่ 1 ฉบับที่ 7 ก.พ. 2549 – เม.ษ. 2549 Siam Academic Review Vol. 7 No.1 Issue 7 Feb 2006 – Apr 2006
สยามวิชาการ ปีที่7 ฉบับที่8 ปี 2549
[mfn]พิจิตร เอี่ยมโสภณา วันชัย แก้วโสภา และ สัมฤทธิ์ เทียนดำ. (2549). เศรษฐกิจพอเพียง : รากฐานการเติบโตที่ยั่นยืน. สยามวิชาการ, 7(2), ก-ฉ.[/mfn] เศรษฐกิจพอเพียง : รากฐานการเติบโตที่ยั่งยืน
พิจิตร เอี่ยมโสภณา วันชัย แก้วโสภา และ สัมฤทธิ์ เทียนดำ
[mfn]เบญจวรรณ อุชุพงศ์อมร. (2549). OTOP ทางเลือกของผู้ผลิตในตลาดสินค้าเกษตร. สยามวิชาการ, 7(2), 1-13.[/mfn] OTOP ทางเลือกของผู้ผลิตในตลาดสินค้าเกษตร
เบญจวรรณ อุชุพงศ์อมร
[mfn]ปรัชญา ปิ่นมณี. (2549). การศึกษากับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ : แบบจำลองเชิงทฤษฎี. สยามวิชาการ, 7(2), 14-20.[/mfn] การศึกษากับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ : แบบจำลองเชิงทฤษฎี
ปรัชญา ปิ่นมณี
[mfn]ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ และ วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล. (2549). มองเป้าหมายและภารกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม : โรงงานในเขตฝั่งธนบุรี. สยามวิชาการ, 7(2), 21-40.[/mfn] มองเป้าหมายและภารกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม : โรงงานในเขตฝั่งธนบุรี
ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ และ วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
[mfn]แพรภัทรา เขียวชะอุ่ม. (2549). การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ การมีส่วนร่วมกับทัศนคติต่อโครงการ หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ของสมาชิกกลุ่มอาชีพ จังหวัดนครนายก. สยามวิชาการ, 7(2), 41-62.[/mfn] การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ การมีส่วนร่วมกับทัศนคติต่อโครงการ หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ของสมาชิกกลุ่มอาชีพ จังหวัดนครนายก
แพรภัทรา เขียวชะอุ่ม
[mfn]ปรัชญา ปิ่นมณี. (2549). การพึ่งพาต่างประเทศกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ. สยามวิชาการ, 7(2), 63-74.[/mfn] การพึ่งพาต่างประเทศกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ปรัชญา ปิ่นมณี
[mfn]ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ และ สัมฤทธิ์ เทียนดำ. (2549). มองเศรษฐกิจไทยและผลกระทบต่ออุตสาหกรรมผู้ประกอบการ. สยามวิชาการ, 7(2), 75-85.[/mfn] มองเศรษฐกิจไทยและผลกระทบต่ออุตสาหกรรมผู้ประกอบการ
ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ และ สัมฤทธิ์ เทียนดำ
[mfn]เบญจวรรณ อุชุพงศ์อมร. (2549). ปัจจัยแรงจูงใจที่มีความสัมพันธ์ต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงานขาย : เขตฝั่งธนบุรี. สยามวิชาการ, 7(2), 86-97.[/mfn] ปัจจัยแรงจูงใจที่มีความสัมพันธ์ต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงานขาย : เขตฝั่งธนบุรี
เบญจวรรณ อุชุพงศ์อมร
[mfn]สมบูรณ์ ยืนยงสุวรรณ. (2549). ผู้ด้อยโอกาสในสังคมกับแนวคิดการพัฒนาองค์การ. สยามวิชาการ, 7(2), 98-118.[/mfn] ผู้ด้อยโอกาสในสังคมกับแนวคิดการพัฒนาองค์การ
สมบูรณ์ ยืนยงสุวรรณ
[mfn]Pichit Eamsopana. (2006). The Economic Theory of Consumer Behavior: A Closer Look. Siam Academic Review, 7(2), 119-121.[/mfn] The Economic Theory of Consumer Behavior: A Closer Look.
Pichit Eamsopana
วารสารสยามวิชาการ ปีที่ 7 เล่มที่ 2 ฉบับที่ 8 พ.ค. 2549 – ส.ค. 2549 Siam Academic Review Vol. 7 No.2 Issue 8 May 2006 – Aug 2006
องค์ประกอบปัจจัยทางการตลาดและพฤติกรรมการซื้อ ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของวัยรุ่นในเขต กรุงเทพมหานคร (2560)
[mfn]วราภรณ์ ลิ้มเปรมวัฒนา และ เอกภพ มณีนารถ. (2560). องค์ประกอบปัจจัยทางการตลาดและพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร. สยามวิชาการ, 18(30), 72-92.[/mfn] องค์ประกอบปัจจัยทางการตลาดและพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร
วราภรณ์ ลิ้มเปรมวัฒนา และ เอกภพ มณีนารถ
อาจารย์ประจําภาควิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม
Abstract: The research on “Marketing Factors and Purchasing Behavior of Environmentally Friendly Products of Teenagers in Bangkok Metropolitan Area” has the objective for 1) studying
the marketing factor effective to the purchase of environmentally friendly products of teenagers in Bangkok Metropolitan Area 2) studying the purchasing behavior of environmentally friendly products of teenagers in Bangkok Metropolitan Area. The samples used in this research are 400 teenagers having their ages in between 15 – 24 years old living in Bangkok Metropolitan Area who purchased environmentally friendly products. The statistics used in the data analysis are percentage, mean, standard deviation, and factor analysis. The result of the research found that the marketing factors used in deciding to purchase the environmentally friendly products consisted of 3 factors, they are 1) Product, brand, and packaging, 2) Promotion and how to pay money in different forms, and 3) Reasonable prices and purchasing convenience.
Keywords: Marketing Factors, Purchasing Behavior, Environmentally Friendly Products, Teenagers
Bibliography: วราภรณ์ ลิ้มเปรมวัฒนา และ เอกภพ มณีนารถ. (2560). องค์ประกอบปัจจัยทางการตลาดและพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร. สยามวิชาการ, 18(30), 72-92.
สยามวิชาการ ปีที่18 ฉบับที่30 ปี 2560
แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช
[mfn]สมหมาย จันทร์เรือง. (2557). แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช. กระแสวัฒนธรรม, 15(28), 17-26.[/mfn] แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช Political Concepts on Buddhist Approach of M.R. Kukrit Pramoj
เจ้าของผลงาน : ผศ.ดร. สมหมาย จันทร์เรือง
บทคัดย่อ : การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ระเบียบวิธีวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาเจาะจง จำนวน 14 คน และกระบวนการสนทนากลุ่มจากผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน นำมารวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณา ผลการศึกษาพบว่า แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช คือการปกครอง ที่ใช้หลักธรรมทางพุทธศาสนาในการปกครอง ได้แก่ ทศพิธราชธรรม สังคหวัตถุ และจักรวรรดิวัตร ซึ่งสามารถนำมาใช้กับการเมืองการปกครองไทยในปัจจุบัน เฉพาะอย่างยิ่งทศพิธราชธรรม ได้นำมาประยุกต์กับการบริหารองค์การภาครัฐและภาคเอกชนอย่างกว้างขวาง สำหรับการปกครองของประเทศไทยด้วยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขสอดคล้องกับหลักธรรมราชาหรือราชาธิปไตย ที่ผู้นำการปกครองต้องกอปรด้วย คุณธรรมจริยธรรมตามหลักธรรมทางพุทธศาสนา โดยความซื่อสัตย์สุจริต และความกล้าหาญเป็นคุณสมบัติที่สังคมไทยต้องการมากที่สุด นอกจาก ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้นำเสนอแนวคิดทางการเมืองแนวพุทธผ่านทางนวนิยายและบทความในหนังสือพิมพ์แล้วยังได้แสดงบทบาทดำรงตนและดำรงความเป็นผู้นำทางการเมืองตามหลักธรรมทางพุทธศาสนา อันถือเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับนักการเมืองและการบริหารบ้านเมืองไทยในทุกยุคทุกสมัย
คำสำคัญ : แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธ, ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช
Abstract : The objective of this research is study the Buddhist Approach on Political Concepts of M.R. Kukrit Pramoj. The research methodology employed this research is qualitative, including several qualitative methods of (1) documentary research, (2) in-depth interview with fourteen informants selected by purposive sampling method and (3) focus group interview with five qualifying experts, in which descriptive approach of data analysis were employed. The result of the study was that the Buddhist political Concepts of M.R. Kukrit Pramoj resembles Buddhist principles of governance which include: desa-raja-dhamma (Ten Duties of the King), sanga-ha-vatthu (Principles of Service and Social Integration), and cak-ka-vatti-vat (Duties of the Great rulers). All these principles were being widely adapted to modern Politics and Governance in Thailand, especially the desa-raja-dhamma (Ten Duties of the King) that being applied in managing public and private sectors nationwide. Consequently, the democratic form of governance in Thailand with the King as the head of the state stipulates the condition of dhamma-raja in which the head of the state must uphold their virtue and moral according to the Buddhist principles. Ultimately, honesty, integrity, and courage are leadership characteristics mostly demanded by Thai public and society. Apart from the fact that M.R. Kukrit Pramoj had presented his Buddhist political ideology via his several outstanding masterpieces including novels and newspaper articles, he also consistently live and committed to his role status as a faithful Buddhist-principle-guided Thai political leader, thus, being a great role model for both politics and governance circles in Thailand until nowadays.
Keywords : Political Concepts on Buddhist Approach, M.R. Kukrit Pramoj
Download PDF : แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช Political Concepts on Buddhist Approach of M.R. Kukrit Pramoj
Publication : กระแสวัฒนธรรม ปีที่ 15 ฉบับที่ 28 ก.ค.-ธ.ค. 2557 Cultural Approach Vol.15 No.28 Jul-Dec 2014
Link to Publication: https://e-library.siam.edu/e-journal/article/journal-of-cultural-approach-2014-vol15-no28-jul-dec/
Bibliography : สมหมาย จันทร์เรือง. (2557). แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช. กระแสวัฒนธรรม, 15(28), 17-26.