การติดตามผลการพัฒนาอาจารย์พยาบาลด้านการสอนการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (2566)

ชื่อบทความ       : การติดตามผลการพัฒนาอาจารย์พยาบาลด้านการสอนการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต

Title              : A Follow up study of the development of nurse educators for rational drug use instruction in the Bachelor of Nursing Science Program

ผู้เขียน/Author  : ลัดดาวัลย์ ไวยสุระสิงห์, ศุกร์ใจ เจริญสุข, กนกเลขา สุวรรณพงษ์, ลัดดา เหลืองรัตนมาศ, นฤมล อังศิริศักดิ์* , กมลรัตน์ เทอร์เนอร์ และ สุนทราวดี เธียรพิเชฐ

Researcher       : Laddawon Vaisurasingha, Sukjai Charoensuk, Kanoklekha Suwannapong, Ladda Leungratanamart, Naruemol Angsirisak* , Kamolrat Turner and Suntharawadee Theinpichelts

Department     : * Faculty of Nursing, Siam University, Bangkok, Thailand

ฐานข้อมูลงานวิจัย มหาวิทยาลัยสยาม    :  https://e-research.siam.edu/kb/a-follow-up-study/

Link to article : วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2566 | Bcnnon Health Science Research Journal Volume 17 No.3: September – December 2023 https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JHR/article/view/265518/180224 


Link to Published: วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีจังหวัดนนทบุรี / TCI 1


Bibliography     :  ลัดดาวัลย์ ไวยสุระสิงห์, ศุกร์ใจ เจริญสุข, กนกเลขา สุวรรณพงษ์, ลัดดา เหลืองรัตนมาศ, นฤมล อังศิริศักดิ์, กมลรัตน์ เทอร์เนอร์ และ สุนทราวดี เธียรพิเชฐ. (2566). การติดตามผลการพัฒนาอาจารย์พยาบาลด้านการสอนการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต. ารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี, 17(3), 54-64.


 

Quick View

การประเมินนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต และสมรรถนะ การใช้ยาอย่างสมเหตุผลของอาจารย์พยาบาล (2563)

ชื่อบทความ       : การประเมินนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต และสมรรถนะ การใช้ยาอย่างสมเหตุผลของอาจารย์พยาบาล

Title              : An Evaluation of the Policy of Integrating RDU Curriculum into the Bachelor of Nursing Science Program and RDU Competency of Nurse Instructors

ผู้เขียน/Author  : ภาวิดา พุทธิขันธ์, กนกเลขา สุวรรณพงษ์, นฤมล อังศิริศักดิ์, กมลรัตน์ เทอร์เนอร์ และ สุนทราวดี เธียรพิเชฐ 

Researcher       : Phawida Putthikhan, Kanoklekha Suwannapong, Naruemol Angsirisak *, Kamolrat Turner & Suntharawadee Theinpichet

Department     : * Faculty of Nursing, Siam University, Bangkok, Thailand

ฐานข้อมูลงานวิจัย มหาวิทยาลัยสยาม    : https://e-research.siam.edu/kb/an-evaluation-of-the-policy/

Link to article : วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 ม.ค.-มิ.ย. 63 | Thai Red Cross Nursing Journal Vol. 13 No. 1 January – June (2020) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/trcnj/article/view/243833


Link to Published: วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย / TCI 1


Bibliography     :  ภาวิดา พุทธิขันธ์, กนกเลขา สุวรรณพงษ์, นฤมล อังศิริศักดิ์, กมลรัตน์ เทอร์เนอร์ และ สุนทราวดี เธียรพิเชฐ. (2563). การประเมินนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต และสมรรถนะ การใช้ยาอย่างสมเหตุผลของอาจารย์พยาบาล. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 13(1), 282-301.


 

Quick View

ความรู้ ทัศนคติแนวคิดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ของวัยรุ่นชุมชนศรีประดู่ (2560)

 

Title              :  ความรู้ ทัศนคติแนวคิดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ของวัยรุ่นชุมชนศรีประดู่: Knowledge Attitude Concept and Factor about Breastfeeding in Sripradu Teenagers

Researcher       : นฤมล อังศิริศักดิ์, ธารทิพย์ จิรกัญจนะ, ภัทรพร อรัณยภาค,วารุณี เพไร
Department     :  Faculty of Nursing, Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                :  nlm_058 @hotmail.com

บทคัดย่อ             :  การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความรู้ทัศนคติแนวคิดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในเรื่อง การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของวัยรุ่นชุมชนศรีประดู่ กลุ่มตัวอย่างคือวัยรุ่นในชุมชนศรีประดู่ อายุระหว่าง 13-19 ปี จ านวน 11 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบประเมินความรู้และทัศนคติต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และแบบสัมภาษณ์ความคิดเห็นต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และหาค่าความสัมพันธ์โดยใช้สูตร Chi-square test รวมทั้งน าข้อมูลเชิง คุณภาพมาวิเคราะห์ โดยการทำ Content analysis ผลการศึกษาพบว่าวัยรุ่นในชุมชนศรีประดู่ มีความรู้ เรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อยู่ในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 63.63 และมีทัศนคติต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 90.91 โดยที่ปัจจัยส่วนบุคคลไม่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับระดับของความรู้และทัศนคติในเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่คิดว่าความรู้และทักษะเป็นสิ่งสำคัญต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ถ้าไม่มีความรู้ก็จะไม่สามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้ ส่งผลให้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดน้อยลง และสมาชิกในครอบครัวเป็นสิ่งสำคัญเพราะเป็นต้นแบบและแรงผลักดันในการช่วยส่งเสริมให้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ประสบความสำเร็จมากขึ้น และได้รับความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ จากการเรียนในสถาบันการศึกษาและสื่ออิเล็กโทรนิกส์ การส่งเสริมความรู้และทัศนคติที่ดีต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่นั้นจึงควรมุ่งเน้นการให้ความรู้ที่ถูกต้องทั้งในวัยรุ่นและครอบครัว จัดหาแหล่งสนับสนุนคอยให้คำปรึกษาช่วยเหลือ เพื่อให้วัยรุ่นมีความรู้และทัศนคติที่ดี นำไปสู่การเพิ่มอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มากขึ้นในอนาคต

คำสำคัญ             :  ความรู้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ทัศนคติการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มารดาวัยรุ่น

Abstract            :  The objectives of this research were to study the knowledge attitude concept and factor about Breastfeeding of teenagers in Sripradu community. The sample group was 11 teenagers aged 11-19 years old. Collect information by evaluation form about knowledge and attitude of breastfeeding and interviewing about opinion to breastfeeding. All data analyzed using percentage, frequency distribution, average, standard deviation, Chi-square test and analyze quality data by content analysis. The results showed teenager in Sripradu community had the knowledge about breastfeeding in high level, average 63.63 % and had attitude about breastfeeding in medium level average 90.91 %, respectively. In addition, there was no statistically significant different among personal factor with knowledge and attitude about breastfeeding. They thought knowledge and skill are important for breastfeeding. Moreover, in them opinion family members are prototype and impulsion them to breastfeeding. Most teenagers get knowledge about breastfeeding from school and electronic media. So, how to increase the number of breastfeeding should focus on educate good attitude, support and advice for teenager and family.

Keywords         :  Knowledge of breastfeeding, Attitude of breastfeeding, Teenage Pregnancy

Download PDF:  ความรู้ ทัศนคติแนวคิดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ของวัยรุ่นชุมชนศรีประดู่


Proceeding       :  การประชุมวิชาการระดับชาติ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ประจำปี 2560 วันที่ 25 พฤษภาคม 2560 มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต APHEIT Conference 2017                               

Link to Proceeding:    http://apheitconference.siam.edu/index.php/en/proceedings-2012-2016


Bibliography    :  นฤมล อังศิริศักดิ์, ธารทิพย์ จิรกัญจนะ, ภัทรพร อรัณยภาค และ วารุณี เพไร. (2560). ความรู้ ทัศนคติแนวคิดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ของวัยรุ่นชุมชนศรีประดู่. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ประจำปี 2560 (หน้า 905-915). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต. 


Quick View

ความสัมพันธ์ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคมกับความเครียดของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท (2564)

ชื่อบทความ       : ความสัมพันธ์ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคมกับความเครียดของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท

Title              : The Relationship Between Social Support and Stress of Caregivers Caring for Patients with Schizophrenia

ผู้เขียน/Author  : ลัญชนา พิมพันธ์ชัยยบูลย์, ศุภารัญ ผาสุข, นฤมล อังศิริศักดิ์, นฐมน บูญล้อม และ สุสารี ประคินกิจ

Researcher       : Lunchana Phimphanchaiyaboon, Suparun Phasuk, Nuruemol Angsirisak, Natamon Boonlom & Susaree Prakhinkit

Department     : * Faculty of Nursing, Siam University, Bangkok, Thailand

ฐานข้อมูลงานวิจัย มหาวิทยาลัยสยาม    : https://e-research.siam.edu/kb/the-relationship-between-social-support/

Link to article : วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล ปีที่ 37 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม) พ.ศ. 2564 | Journal of Health and Nursing Research Volume 37 No.2 September-Dember 2021 https://he01.tci-thaijo.org/index.php/bcnbangkok/article/view/251415


Link to Published: วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล  / TCI 1


Bibliography     :  ลัญชนา พิมพันธ์ชัยยบูลย์, ศุภารัญ ผาสุข, นฤมล อังศิริศักดิ์, นฐมน บูญล้อม และ สุสารี ประคินกิจ. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคมกับความเครียดของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท. ารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี, 17(3), 54-64.


 

Quick View

ผลของโปรแกรมสร้างสุข ผ่อนคลายความเครียด ผ่านแอปพลิเคชั่น (Guide Image Dynamic Meditation Music Therapy Application) ต่อความเครียด ความสุข คุณภาพชีวิต ของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนเมือง (2562)

 

Title              :  ผลของโปรแกรมสร้างสุข ผ่อนคลายความเครียด ผ่านแอปพลิเคชั่น (Guide Image Dynamic Meditation Music Therapy Application) ต่อความเครียด ความสุข คุณภาพชีวิต ของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนเมือง  : The effectiveness created happiness relaxation stress program through GDM application (Guide Image Dynamic meditation Music therapy application) to stress happiness and quality of life for caregiver of schizophrenia inurban community

Researcher       :  สุสารี ประคินกิจ, นฤมล อังศิริศักดิ์, ศุภารัญ ผาสุก, พาจนา ดวงจันทร์

Department     :   คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

E-mail                :   tik.susaree@gmail.com

บทคัดย่อ             :  การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ชนิดศึกษาสองกลุ่มวัดก่อนและหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลโปรแกรมสร้างสุขและจัดการความเครียดของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทผ่านแอพพลิเคชันต่อระดับความเครียด ความสุข คุณภาพชีวิตของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทในเขตเมือง โดยพัฒนาโปรแกรมสร้างสุขและจัดการความเครียดแอปพลิเคชัน บนหลักการการจัดการความเครียด ด้วยวิธีการสร้างภาพตามจินตนาการ  (Guided Imagery) สมาธิแบบการเคลื่อนไหว ( Dynamic meditation) เสียง ดนตรีบําบัด (Music therapy) ภายใต้ชื่อ GDM application และ ทดสอบโปรแกรมในผู้ดูแลจํานวน 30 คนสุ่มแบ่งเป็น 2 กลุ่มได้แก่กลุ่มควบคุมจํานวน 15 คนกลุ่มทดลอง 15 คนใช้โปรแกรม 6 วัน/สัปดาห์เป็นระยะ 4 สัปดาห์ ประเมินความเครียด ความสุข คุณภาพชีวิต เปรียบเทียบก่อน-หลังการทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลก่อนและหลังโดยใช้ สถิติการทดสอบค่าทีแบบรายคู่ (Paired t- test) วิเคราะห์ระหว่างกลุ่มโดยการทดสอบค่าทีแบบกลุ่มตัวอยางเป็นอิสระต่อกัน (Independent t-test) ผลการศึกษาพบว่า ความเครียดลดลง ความสุขและคุณภาพ ่
ชีวิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 ในกลุ่มทดลอง แต่ไม่พบการเปลี่ยนแปลงในกลุ่มควบคุม เมื่อเปรียบเทียบระหวางกลุ่ม พบว่าความเครียดลดลง ความสุขและคุณภาพชีวิตโดยรวม เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 สรุปได้ว่า โปรแกรมสร้างสุข จัดการความเครียดผ่านจีดีเอ็มแอปพลิเคชันสามารถช่วยลดความเครียดเพิ่มความสุขและคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนเมืองได้

คําสําคัญ             : โปรแกรมสร้างสุข ผอนคลายความเครียดผ่านแอปพลิเคชั่น ความสุข ความเครียด

Abstract            :  This study was quasi-experimental research with two groups pre-post test design carried out to development happiness relaxation stress program through GDM application (Guide Image Dynamic meditation Music therapy application) and determine the effects of the happiness relaxation stress program through GDM application for stress, happiness and quality of in caregiver of schizophrenia in urban community. This research methodology was developed happiness relaxation stress program through GDM application approach relaxation stress by guided Imagery, dynamic meditation, music therapy and used name GDM application and determine the effects of program. A total of 3 0 participants were randomly allocated to the sedentary control (n=15), and experimental groups (n=15). happiness relaxation stress program through GDM application was designed using for 6 times/ week for 4 weeks. The stress, happiness, quality of life were assessed pre-post program. Data pre-post (in group) analyzed by using paired t- test and data between group analyzed by using independent t-test. The results showed that stress was less, increasing happiness and quality of life were higher in the experimental group (p<0 .0 5 ). However, there were no significant difference for stress, happiness, quality of life in control group. Experimental group was a significantly happiness and quality of life higher and stress lower than control group when compared between groups (p<0.05). We concluded the happiness relaxation stress program through GDM application program was effective in decreasing stress, increasing happiness quality of life in caregiver of schizophrenia in urban community.

Keywords        : The happiness relaxation stress program through GDM application program, stress, happiness


Link to Proceeding : รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการ (Proceeding) การประชุมวิชาการ รางวัลศรีสังวาลย์ ผลงานดี วิชาการเด่น สมคุณค่าพยาบาลไทย ครั้งที่ 3 : การดูแลผู้สูงอายุในยุคดิจิทัล วันที่ 24-26 เมษายน 2562 ณ โรงแรมเซ็นทรา บาย เซ็นทาราศูนย์ราชการและคอนเวนชั่น แจ้งวัฒนะ หลักสี่กรุงเทพมหานคร

Bibliography     :  สุสารี ประคินกิจ, นฤมล อังศิริศักดิ์, ศุภารัญ ผาสุก  และ พาจนา ดวงจันทร์. (2562). ผลของโปรแกรมสร้างสุข ผ่อนคลายความเครียด ผ่านแอปพลิเคชั่น (Guide Image Dynamic Meditation Music Therapy Application) ต่อความเครียด ความสุข คุณภาพชีวิต ของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนเมือง, ใน รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการ รางวัลศรีสังวาลย์ ผลงานดี วิชาการเด่น สมคุณค่าพยาบาลไทย ครั้งที่ 3: การดูแลผู้สูงอายุในยุคดิจิทัล (หน้า 225-236). นนทบุรี: กองการพยาบาล สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.


Quick View