วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย-ปีที่7-ฉบับที่1-มค-มิย-2561

การสื่อสารทางการตลาดดิจิทัลสู่การใช้บริการแอปพลิเคชันรถยนต์รับจ้างในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

 

Title              :  การสื่อสารทางการตลาดดิจิทัลสู่การใช้บริการแอปพลิเคชันรถยนต์รับจ้างในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย: DIGITAL MARKETING COMMUNICATIONS TOWARD TAXI SERVICE APPLICATIONS IN BANGKOK, THAILAND

Researcher       :   ดร.ธนกร ลิ้มศรัณย์ Dr.Tanakorn Limsarun
Department     :  Master of Business Administration, Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                : dr.tanakorn@siam.edu

Abstract            : This research aimed (1) to study digital marketing communication toward taxi service applications in Bangkok Thailand (2) to analyze the relationship model of digital marketing communication and decision to use the taxi service application (3) to analyze the digital marketing communication influencing factors toward consumer’s decision. There were 400 samples that have been used taxi service applications service in Bangkok. The samples were selected by purposive sampling method, the online questionnaire was a research tools. The research data was analyzed by descriptive statistics which are average percentage and standard deviation. Moreover, Pearson Product-Moment Correlation Coefficient and multiple linear regressions with stepwise were adapted to identify a correlation. The results of study have shown demographic data that the majority of samples were male, 18 – 25 years old, graduated in Bachelor’s degree, private company employees, and average monthly income ranging from 20,001 – 30,000 Baht. The samples used taxi service application because they need the transportation service to their workplace, availability and ubiquitous service. While most of the samples used taxi service application 3 – 5 times per month and most of the service was on every Monday at 7am – 9am. Thus, the digital marketing communications have been related to the decision to used taxi service application in Bangkok Thailand as shown by a multiple linear regression equation. Decision Making Service = 0.394 Digital Media Promotion + 0.325 Perceptual + 0.297 Perceived Benefit – 0.104 Digital Advertising. Moreover, the consumer’s decision to used taxi service application in Bangkok was effected by four aspects of the digital marketing communication at 68.5 percent in Bangkok was effected by four aspects of the digital marketing communication at 68.5 percent.

Key words         :  Digital marketing communication, taxi service application Decision making


Publication        : วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยฯ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2561

                               Journal of Business Administration The Association of Private Higher Education Institutions of Thailand  Vol.7 No.1 Jan-Jun 2018

Link to Publication:    https://www.tci-thaijo.org/index.php/apheitvu/issue/view/10347

Download PDF  : การสื่อสารทางการตลาดดิจิทัลสู่การใช้บริการแอปพลิเคชันรถยนต์รับจ้างในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

Bibliography     :  ธนกร ลิ้มศรัณย์. (2561). การสื่อสารทางการตลาดดิจิทัลสู่การใช้บริการแอปพลิเคชันรถยนต์รับจ้างในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย.  วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยฯ,  7(1), 90-101. 


Quick View

การออกแบบวงจรหารเลขโดยใช้ลอจิกเกท

 

Title              :  การออกแบบวงจรหารเลขโดยใช้ลอจิกเกท: A Design of Divider Circuit by Using Logic Gate

Researcher       : สิทธิพร เพ็ชรกิจ¹, คัมภีร์ ธิราวิทย์¹, สุทธิเกียรติ ชลลาภ² และ วิจิตรา เพ็ชรกิจ³
Department     :  1. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม 38 ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ 10160 เบอร์โทรศัพท์ 02-4570068 ต่อ 140 Email address: sitiporn_2552@yahoo.com, kampree@hotmail.com
2. ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม 38 ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ 10160 เบอร์โทรศัพท์ 02-4570068 Email address: nuclear_ee@yahoo.com
3. สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 222 ต าบลไทยบุรี อ าเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 80160 Email address: pwijittr@wu.ac.th

E-mail                :  ผู้ประสานงานหลัก:  sitiporn_2552@yahoo.com kampree@hotmail.com

บทคัดย่อ             :  บทความนี้ นำเสนอ การออกแบบวงจรหารเลขโดยใช้ลอจิกเกทพื้นฐาน เช่น แอนด์เกท ออเกท และดี-ฟลิปฟลอป มาประกอบเป็นวงจรหารเลข แสดงผลด้วยเซเวนเซ็กเม้นท์ 2 ชุด คือชุดคำตอบของผลหาร และชุดคำตอบของเศษที่ได้ ตามหลักการหารแบบวิธีลบซ้ำๆ นำมาสังเคราะห์เป็นวงจรให้เห็นจริง วงจรที่ออกแบบนี้ได้ทำการทดสอบโดยการจำลองผลการทำงานด้วยโปรแกรม Circuit Wizard ผลจำลองการทำงานแสดงให้เห็นว่าวงจรที่ออกแบบนี้ สามารถทำงานเป็นวงจรหารได้อย่างถูกต้อง

คําสําคัญ             :    วงจรหาร, ลอจิกเกท, การออกแบบ

Abstract            :  This paper presents a design of divider circuit by using logic gate. The used logic gates are simple logic gate such as and gate, or gate and D-flip flop. The divider circuit displays with two seven segment units that are the result unit and the fraction unit. By repeated-subtract divider principle brings to a synthesis of real circuit. The designed circuit is tested by simulating with Circuit Wizard program. The simulation result verifies that this designed circuit can work to be divider circuit.

Keywords        :   divider circuit, logic gate, design

Download PDF:   การออกแบบวงจรหารเลขโดยใช้ลอจิกเกท


Conference   : การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 14 ภายใต้คำขวัญ “ตามรอยพระยุคลบาท เกษตรศาสตร์กำแพงแสน” ระหว่างวันที่ 7-8 ธันวาคม 2560 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

Link to Website:   http://ird.rmutp.ac.th/?p=8247

Bibliography     :    สิทธิพร เพ็ชรกิจ, คัมภีร์ ธิราวิทย์, สุทธิเกียรติ ชลลาภ และ วิจิตรา เพ็ชรกิจ. (2560). การออกแบบวงจรหารเลขโดยใช้ลอจิกเกท. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 14 ภายใต้คำขวัญ “ตามรอยพระยุคลบาท เกษตรศาสตร์กำแพงแสน”. นครปฐม: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.


 

Quick View

การเข้ามาทำงานโรงพยาบาลในประเทศไทยของบุคลากรต่างชาติ (2561)

 

Title              :  การเข้ามาทำงานโรงพยาบาลในประเทศไทยของบุคลากรต่างชาติ  : Foreigners Employed as Hospital Workforce in Thailand

Researcher       : รุ่งฤดี วงค์ชุม* พีรนุช ลาเซอร์* อรทิพา ส่องศิริ† พิชาภรณ์ จันทนกุล† วิชชุดา เจริญกิจการ‡ ชุติมา อรรคลีพันธุ์§

Department     :  *คณะพยาบาลศาสตร์แมคคอร์มิค มหาวิทยาลัยพายัพ †คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ‡คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล §สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ

E-mail                :

Abstract            :  The aims of the present descriptive study of foreigners being employed as hospital workforce in Thailand were to explore the characteristics of foreign hospital employees, factors influencing decision makingof foreigners seekingemployment inThailand, the processof beingemployed as foreignhospital
employees, and problems or obstacles encountered while working in Thailand. One hundred foreign hospital employees in both government and private hospitals inThailand were recruited using snowball sampling. A questionnaire was used for data collection. The data were analyzed using descriptive statis- tics, including frequency, percentage, mean, and standard deviation. The results revealed that most participants were females with the mean age of 31.23 years. Onethird of foreign hospital employees were the Filipinos. Success factors of being employed in Thailand included level of education (68%), competencies/special skills in needed fields (64%), and ability to communicate in Thai (55%). Factors influencing foreigners making decision to work in Thailand covered both push factors (such as low wages, limited career progression, unfair benefits, and high living expens- es) and pull factors (including gaining new experience, job opportunities, and opportunity to improve career).The processes for being employed as foreignhospital employees included 1) preparation phase: foreigners prepared on language, working knowledge and employment laws, and health check-ups 2) application phase: most foreigners applied for a job themselves after receiving information. A tourist visa was initially granted at first arrival in Thailand and then changed to a non-immigrant visa “B”. The expensesof application phaseincluded a visa, passport, work permit, and travel. Most participants (93%) were working as medical serviceassistants, suchas interpreters and 7% were qualified to work ashealth- care providers as described under the mutual recognition arrangement (MRA). Communication in Thai, adjusting to social and cultural differences, unfair wage, visa and work permit renewal were indicated as problems or obstacles encountered while working in Thailand. The recommendations from the present research were as follows: 1) stakeholders should revise the process of work permit renewal, and MRA; 2) the organization or employer should provide a basic training program in healthcare competencies, and improve workplace culture, including setting up ap- propriate remuneration system as international standard and equity basis.

Keywords        : being employed, foreigners, foreign health workforce, hospital employees, Thailand


Link to Publication : วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข Journal of Health Systems Research  ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 เม.ย.-มิ.ย. 2561

Bibliography     :  รุ่งฤดี วงค์ชุม, พีรนุช ลาเซอร์, อรทิพา ส่องศิริ, พิชาภรณ์ จันทนกุล, วิชชุดา เจริญกิจการ และ ชุติมา อรรคลีพันธุ์. (2561). การเข้ามาทำงานโรงพยาบาลในประเทศไทยของบุคลากรต่างชาติ.วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, 12(2), 292-305.


Quick View

การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ทางการพยาบาล ของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2559 มหาวิทยาลัยสยาม ที่ได้รับการสอนโดยใช้โสตทัศนวัสดุกับการสอนแบบปกติ

 

Title              :  การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ทางการพยาบาล ของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2559 มหาวิทยาลัยสยาม ที่ได้รับการสอนโดยใช้โสตทัศนวัสดุกับการสอนแบบปกติ : The Comparison of Learning Achievement in Physics for Nurses of the First year Nursing Students in 2016 Academic year, Siam University by Audio-Visual Material of Instruction

Researcher       :  เอื้ออารี กัลวทานนท์ และ สรัญญา ชมฉัยยา

Aue-aree Kanvatanond and Sarunya Chomchaiya

Department     :  ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

E-mail                :    aue-aree.kan@siam.edu

บทคัดย่อ             :   การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ทางการพยาบาล ของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยสยาม ที่ได้รับการสอนโดยใช้โสตทัศนวัสดุและการสอนแบบปกติ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะพยาบาลศาสตร์ ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาฟิสิกส์ทางการพยาบาล ในปีการศึกษา 2559 จํานวน 98 คน โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจากประชากรด้วยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย ได้กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยกลุ่มที่ได้รับการสอนโดยใช้โสตทัศนวัสดุจํานวน 44 คน และ กลุ่มที่ได้รับการสอนแบบปกติจํานวน 44 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียนวิชาวิชาฟิสิกส์ทางการพยาบาล สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบแบบที ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ทางการพยาบาล ที่ได้รับการสอนโดยใช้โสตทัศนวัสดุสูงกว่าการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

คําสําคัญ             :  การสอนโดยใช้โสตทัศนวัสดุ การสอนแบบปกติ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

Abstract            :  The purposes of this research were to compare the physics for nurse learning achievement of first year nursing students who were taught by audio-visual material of instruction method and regular classroom method. The populations were 98 of the first year nursing students who enrolled Physics for nurses in 2016 academic year. Sampling group was selected by the simple random sampling and contains 44 samples each. Instrument using for the research was pretest-posttest. The statistics using for analysis were arithmetic mean, standard deviation, and t-test. The results of the study show that physics learning achievement of audiovisual material of instruction method was higher than learning achievement of regular classroom method at the 0.01 level of significance.

Keywords        :    Audio-visual material of instruction method, Regular classroom method, Learning achievement


Proceeding       : รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5  The 5th Academic Science and Technology Conference 2017 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0” (Science and Technology as a Key Driver towards Thailand 4.0) วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม 2560  ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร ผู้จัดหลัก: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

Link to Proceeding:    https://www.astcconference.com/page/proceedings#astc-content

Bibliography     :    เอื้ออารี กัลวทานนท์ และ สรัญญา ชมฉัยยา. (2560). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ทางการพยาบาลของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2559 มหาวิทยาลัยสยาม ที่ได้รับการสอนโดยใช้โสตทัศนวัสดุกับการสอนแบบปกติ. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0” (หน้า 680-684). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.


Quick View

การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีทั่วไปที่เรียนโดยการสอนแบบบรรยาย และการสอนแบบใช้โสตทัศนวัสดุของนักศึกษา มหาวิทยาลัยสยาม

 

Title              :  การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีทั่วไปที่เรียนโดยการสอนแบบบรรยาย และการสอนแบบใช้โสตทัศนวัสดุของนักศึกษา มหาวิทยาลัยสยาม : A COMPARISON THE STUDYING ACHIEVEMENT BETWEEN LECTURE AND AUDIOVISUAL METERIAL METHODS IN A GENERAL CHEMISTRY COURSE OF THE STUDENTS, SIAM UNIVERSITY

Researcher       : วันเพ็ญ วสุพงษ์พันธ์ และ พรชัย เปรมไกรสร
Department     :  ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยสยาม

E-mail                :  wanpwas@yahoo.com

บทคัดย่อ             :  การศึกษาในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีทั่วไปที่เรียนโดยการสอนแบบบรรยาย และการสอนแบบใช้โสตทัศนวัสดุ นักศึกษา มหาวิทยาลัยสยาม ประชากรเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะวิศวกรรมศาสตร์ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา 123-101 เคมีทั่วไป ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2558 คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจากประชากรโดยสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive sampling) ได้กลุ่มตัวอย่างที่ประกอบด้วยกลุ่มที่ได้รับการสอนโดยวิธีแบบบรรยายจํานวน 30 คน และกลุ่มที่ได้รับการสอนแบบใช้โสตทัศนวัสดุจํานวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีทั่วไป โดยหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบด้วยวิธีหาค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟาของครอนบาคได้ค่าความเชื่อมั่นโดยรวมเท่ากับ 0.714 จากนั้นนําแบบทดสอบไปใช้กับนักศึกษาที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง และรวบรวมข้อมูลที่ได้วิเคราะห์สถิติโดยการทดสอบ t-test แบบ independent ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สําเร็จรูปเพื่อทดสอบสมมุติฐาน ผลการวิจัยพบว่านักศึกษาที่ได้รับการสอนแบบใช้โสตทัศนวัสดุมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีทั่วไปแตกต่างกับนักศึกษาที่ได้รับการสอนแบบบรรยายอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยนักศึกษาที่ได้รับการสอนแบบใช้โสตทัศนวัสดุ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีทั่วไปสูงกว่านักศึกษาที่ได้รับการสอนแบบบรรยาย

คำสำคัญ             :   การสอนแบบบรรยาย การสอนแบบใช้โสตทัศนวัสดุ

Abstract            :  This work studies on a comparison to the studying achievement general chemistry course between lecture and audio-visual material methods of engineering students, faculty of engineering, Siam university. A population is the 1st-year students who registered 123-101 general chemistry of a 1st- semester, 2015. Sampling group was selected by the purposive sampling and contains 30 samples each. A reliability of instrument, with testing the Cronbach’s -coefficient reliability method, is 0.714. Thereafter, this instrument was applied to the sampling groups. Data were collected and statistically analyzed by independent t-test using by computer software. The results showed that the achievement of these two groups is significantly different at 0.05 level. In addition, it is also indicates that the learning practice method has had a higher studying achievement than that of the lecture method.

Keywords         :   Lecture method, audio-visual material methods


Proceeding       :  การประชุมวิชาการระดับชาติ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ประจำปี 2559 วันที่ 26 พฤษภาคม 2559 มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ APHEIT Conference 2016                             

Link to Proceeding:    http://apheitconference.siam.edu/index.php/en/proceedings-2012-2016

Bibliography    :  วันเพ็ญ วสุพงษ์พันธ์ และ พรชัย เปรมไกรสร. (2559). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีทั่วไปที่เรียนโดยการสอนแบบบรรยาย และการสอนแบบใช้โสตทัศนวัสดุของนักศึกษา มหาวิทยาลัยสยาม. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ประจำปี 2559 (หน้า 59-60). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. 


Quick View

การใช้ฟังก์ชั่นไลฟ์สตีมมิ่งของยูทิวป์เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้นอกห้องเรียน

 

Title              :  การใช้ฟังก์ชั่นไลฟ์สตีมมิ่งของยูทิวป์เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้นอกห้องเรียน : Using YouTube Live Streaming to promote Learning beyond Classroom

Researcher       :  นิตินัย ไพศาลพยัคฆ์ Nitinai Phaisanpayak

Department     :  ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม

E-mail                :  nitinai@siam.edu

บทคัดย่อ             :   ในประเทศไทยเครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นที่นิยมใช้งานเป็นอย่างมากโดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่นและวัยทํางาน งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการใช้งานฟังก์ชั่นไลฟ์สตรีมมิ่งของยูทิวป์เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้นอกห้องเรียนมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยฟังก์ชั่นไลฟ์สตรีมมิ่งของยูทิวป์ในรายวิชาหลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์กลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษาสาขาแอนิเมชันและสื่อสร้างสรรค์ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาหลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในภาคการศึกษาที่ 2/2559 จํานวน 20 คน ผลงานวิจัยพบว่า ผลการเรียนด้วยการใช้งานฟังก์ชั่นไลฟ์สตรีมมิ่งของยูทิวป์ มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาก่อนเรียนเท่ากับ 14.2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานเท่ากับ 2.53 และคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาหลังเรียนเท่ากับ 19.65 ส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานเท่ากับ 5.74 เมื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

คําสําคัญ             :  การเรียนรู้นอกห้องเรียน เครือข่ายสังคมออนไลน์ ไลฟ์สตีมมิ่ง

Abstract            :  Social Network are popular application among teenage and working age in Thailand. This research studies the using of YouTube Live Streaming to promote learning beyond classroom. The objective was to compare the effects of learning achievement by using YouTube Live Streaming in Computer Programming Concept courses. Subjects are 20 Animation and Creative Media students enrolled in Computer Programming Concept courses in semester 2/2016.The result show that the effects of learning achievement by using YouTube Live Streaming were the average score in the learning achievement pretest was 14.2, S.D. was 2.53 and the average score in the learning achievement posttest was 19.65, S.D. was 5.74. The result compare score in the learning achievement posttest was higher than pretest significantly at the 0.01 level different.

Keywords        :    Learning beyond classroom, Live Streaming, Social Network


Proceeding       : รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5  The 5th Academic Science and Technology Conference 2017 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0” (Science and Technology as a Key Driver towards Thailand 4.0) วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม 2560  ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร ผู้จัดหลัก: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

Link to Proceeding:    https://www.astcconference.com/page/proceedings#astc-content

Bibliography     :    นิตินัย ไพศาลพยัคฆ์. (2560). การใช้ฟังก์ชั่นไลฟ์สตีมมิ่งของยูทิวป์เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้นอกห้องเรียน. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0” (หน้า 1083-1089). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.


Quick View

การใช้โปรแกรม Mathcad เพื่อหาค่าความยาวคลื่นแสงเลเซอร์จากการเลี้ยวเบน

 

Title              :  การใช้โปรแกรม Mathcad เพื่อหาค่าความยาวคลื่นแสงเลเซอร์จากการเลี้ยวเบน : Mathcad-Processing for Laser Wavelength Measurement by Diffraction Technique

Researcher       :  คณิต ทองพิสิฐสมบัติ และ ศตายุ สุวรรณะโสภณ

Kanit Thongpisisombat and Satayu Suwannasopon
Department     :  ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

E-mail                :  satayu.suw@siam.edu

บทคัดย่อ             :   งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการใช้โปรแกรม Mathcad คำนวณค่าความยาวคลื่นแสงเลเซอร์จากภาพถ่ายการทดลองการเกิดปรากฎการณ์การเลี้ยวเบนของแสง ด้วยแหล่งกำเนิดแสดงมาตรฐาน 4 ชนิดคือ แสง laser pointer สีแดง, สีเขียว, สีน้ำเงิน และ HeNe เลเซอร์ ผ่านช่องเปิดเดี่ยวที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางรูเปิด 0.08 mm ที่ตำแหน่งห่างจากกล้อง Charge couple device (CCD) 800 mm โดยค่าเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนของความยาวคลื่นแสงที่ได้จากการทดลองเทียบกับค่ามาตรฐานจากแหล่งกำเนิด He-Ne เลเซอร์ มีค่าต่ำที่สุด และจากแหล่งกำเนิด laser pointer สีแดง มีค่าสูงที่สุด ได้แก่ 0.47% และ -3.84% ตามลำดับ

คําสําคัญ             :  โปรแกรม Mathcad, การเลี้ยวเบน, สลิตเดี่ยว, การวัดความยาวคลื่น

Abstract            :  Mathcad processing for laser wavelength measurement by diffraction pattern images from Charge couple device (CCD) camera. Four different wavelength standard laser sources were used: red laser pointer, green laser pointer, blue laser pointer and He-Ne laser. The diffraction pattern profile was created by a single slit with 0.08 mm width placed on the optical bench at 800 mm between a CCD camera. The measurement of laser wavelength results from Mathcad calculation are compared between experimental and standard values they show the lowest percentage error is He-Ne laser and the highest is red laser pointer are 0.47% and -3.84% respectively

Keywords        :   Mathcad, diffraction, single slit, wavelength measurement


Proceeding       : รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6  The 6th Academic Science and Technology Conference 2018 วันพุธที่ 6 มิถุนายน 2561  ณ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

Link to Proceeding:    https://www.astcconference.com/page/proceedings#astc-content

Bibliography     :  คณิต ทองพิสิฐสมบัติ และ ศตายุ สุวรรณะโสภณ. (2561). การใช้โปรแกรม Mathcad เพื่อหาค่าความยาวคลื่นแสงเลเซอร์จากการเลี้ยวเบน. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 (หน้า BS 155-BS 159). สมุทรปราการ: มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.


Quick View

คดีทางปกครองที่เกี่ยวข้องกับครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา

[mfn]ชนิตา รักษ์พลเมือง. (2557). คดีทางปกครองที่เกี่ยวข้องกับครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา. วารสารครุศาสตร์, 42(1), 141-159.[/mfn]   คดีทางปกครองที่เกี่ยวข้องกับครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา

ชนิตา รักษ์พลเมือง


Professor Emeritus Dr.Chanita Rukspollmuang

Quick View

ความตระหนักและพฤติกรรมการมารับการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายในเขตกรุงเทพมหานคร (2559)

ชื่อบทความวิจัย : ความตระหนักและพฤติกรรมการมารับการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายในเขตกรุงเทพมหานคร

Title                   : HIV Testing Awareness and Behavior in a Men Who Have Sex with Men Group in Bangkok

Researcher       : สินีนาฏ ชาวตระการ, วราภรณ์ คำรศ*

Department     : * Faculty of Nursing, Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                : wara_aui@hotmail.com

บทคัดย่อ : การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบภาคตัดขวางเพื่อศึกษาความตระหนักเกี่ยวกับการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี และพฤติกรรมการมารับการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายในเขตกรุงเทพมหานครจำนวน 500 คน สุ่มตัวอย่างแบบ Convenience Sampling ใช้แบบสอบถามโดยให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามเอง เก็บข้อมูลระหว่างวันที่ 15 พฤษภาคม – 15 มิถุนายน พ.ศ.2558 ได้รับแบบสอบถามคืน 439 ชุด และมีข้อมูลครบถ้วนสามารถนำมาวิเคราะห์ได้ทั้งหมด 431 ชุด วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความตระหนักเกี่ยวกับการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีกับพฤติกรรมการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีโดยใช้สถิติ Chi-Square และ Logistic Regression ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความตระหนักเกี่ยวกับการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีอยู่ในระดับปานกลาง อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน และภูมิลำเนามีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี  โดยบุคคลที่เคยตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีจะเป็นผู้ที่เห็นด้วยว่า จะตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีทุก 1 ปี ไม่จำเป็นต้องตรวจเลือดหากมีคู่นอนเพียงคนเดียว และไม่เห็นด้วยว่าสามารถมีเพศสัมพันธ์กับคนที่ดูแข็งแรงโดยไม่จำเป็นต้องไปตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี จากการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเช่น กระทรวงสาธารณสุขควรมีการรณรงค์สร้างความตระหนัก ส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมการมารับการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย เพื่อให้ผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวีได้รับการรักษาอย่างรวดเร็ว ลดการแพร่เชื้อเอชไอวีสู่ผู้อื่น และลดจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทยต่อไป

Abstract  : This cross-sectional study aimed to examine awareness and behavior regarding HIV testing in a men who have sex with men (MSM) group in Bangkok. Data were collected from 500 MSM using a self-administered questionnaire from 15th May – 15th June 2015. In all, 439 questionnaires were returned and 431 completed questionnaires were analyzed. Association between the HIV testing awareness and behavior was determined by Chi-square test and Logistic Regression. Results showed that the HIV testing awareness level among participants was moderate. Age, education, occupation, salary and domicile were associated with HIV testing behavior. MSM who agreed having an annual HIV check-up program, believed that having a single partner was safe or realized that having  healthy partners was unsafe from HIV transmission, were likely to receive HIV testing. In conclusion, the Thai MOPH should raise awareness and encourage HIV testing behavior among MSM for early detection and to decrease HIV incidence in Bangkok, Thailand.

Keywords : ความตระหนัก, การตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี, ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย, awareness, HIV testing, men who have sex with men

Donwload PDF  : ความตระหนักและพฤติกรรมการมารับการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายในเขตกรุงเทพมหานคร


Link to Published:  วารสารสาธารณสุขศาสตร์  Journal of Public Health


Bibliography     :สินีนาฏ ชาวตระการ และ วราภรณ์ คำรศ. (2559). ความตระหนักและพฤติกรรมการมารับการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารสาธารณสุขศาสตร์, 46(3), 211-222.

Quick View

ความต้องการและความคาดหวังของคนภาษีเจริญต่อการออกกำลังกาย (2556)

 

Title              : ความต้องการและความคาดหวังของคนภาษีเจริญต่อการออกกำลังกาย Need and Expectation of Pasi Charoen Persons toward Exercise

Researcher       : อาจารย์พรพิมล ภูมิฤทธิกุล1*คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
อาจารย์ชนิดา มัททวางกูร คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
อาจารย์เพ็ญรุ่ง นวลแจ่ม คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
อาจารย์วราภรณ์ คำรศ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
อาจารย์ ดร.กุลธิดา จันทร์เจริญ ศูนย์วิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยสยาม
ผศ. (พิเศษ) ดร.เนตร หงษ์ไกรเลิศ สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล
อาจารย์นารี รมย์นุกูล สำนักสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยสยาม
อาจารย์ฐิติมา อุดมศรี ศูนย์วิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยสยาม
อาจารย์สมหญิง เหง้ามูล ศูนย์วิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยสยาม

Department     : 1* Faculty of Nursing, Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                :

Abstract            : The objectives of this study are: first, to study needs and expectations toward exercise activities and exercise facilities and, second, to investigate factors that associate with the needs and expectations toward exercise activities and exercise facilities of the Pasi Charoen citizen. . 404 people who livein Pasi Charoen district were selected using quota sampling with all sub-district and completed a set of questionnaires regarding exercise needs and expectation, exercise facilities.
Results were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson’s correlation coefficient was considered statistically association. The results were as follows: 1. the level of needs and expectations toward exercise activities is moderate. But, the level of needs and expectation toward exercise facilities is high. 2. There are 3 factors that positive correlate with needs and expectations toward exercise activities at statistical significance at 0.01. There are perceived information about exercise, health status and level of education. There are 2 factors that negative correlate with needs and expectations toward exercise activities at statistical significance at 0.05 which are age and work duration.
This research has a suggestion to require the participation of the community and its partners in health, finding out how to integrated exercise is part of daily life, as well as supplying facilities and places to exercise, in the community, appropriate and conform to the needs and expectations of the people in the community.

Keywords        :   Needs for the exercise. Expectations for the exercise. Exercise

Donwload PDF  : Need and Expectation of Pasi Charoen Persons toward Exercise


 

Bibliography     :    พรพิมล ภูมิฤทธิกุลม, ชนิดา มัททวางกูร, เพ็ญรุ่ง นวลแจ่ม, วราภรณ์ คำรศ, กุลธิดา จันทร์เจริญ, เนตร หงษ์ไกรเลิศ,…สมหญิง เหง้ามูล. (2556). ความต้องการและความคาดหวังของคนภาษีเจริญต่อการออกกำลังกาย (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.


 

Quick View