สยามวิชาการ ปีที่15 ฉบับที่24 ปี 2557

[mfn]กัณวัฒน์ เลิศเลาห์กุล. (2557). ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้ออาหารสำเร็จรูปแช่แข็ง ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. สยามวิชาการ, 15(1), 1-9.[/mfn]   ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้ออาหารสำเร็จรูปแช่แข็งของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร

กัณวัฒน์ เลิศเลาห์กุล


[mfn]Nuthathai Thaotrakool & Prin Laksitamas. (2014). Confirmatory Factor Analysis of Internal Marketing Communication on Employees’ Trust and Commitment to Hotel Brand. Siam Academic Review, 15(1), 10-20.[/mfn]   Confirmatory Factor Analysis of Internal Marketing Communication on Employees’ Trust and Commitment to Hotel Brand

Nuthathai Thaotrakool and Prin Laksitamas


[mfn]Chanya Kamboon & Prin Laksitamas. (2014). The Market Orientation Strategy Model for Healthy Vegetarian Frozen Food Through the ASEAN Economic Community. Siam Academic Review, 15(1), 21-35.[/mfn]   The Market Orientation Strategy Model for Healthy Vegetarian Frozen Food Through the ASEAN Economic Community

Chanya Kamboon and Prin Laksitamas


[mfn]อุไรรัตน์ แย้มชุติ. (2557). องค์ประกอบในการเลือกหอพักของนักศึกษามหาวิทยาลัยเอกชนในเขตหนองแขม. สยามวิชาการ, 15(1), 36-48.[/mfn]   องค์ประกอบในการเลือกหอพักของนักศึกษามหาวิทยาลัยเอกชนในเขตหนองแขม

อุไรรัตน์ แย้มชุติ


[mfn]สยมพร จิตตั้งสมบูรณ์ และ วรรณรพี บานชื่นวิจิตร. (2557). ความมีประสิทธิภาพของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรณีศึกษา: ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน). สยามวิชาการ, 15(1), 49-59.[/mfn]   ความมีประสิทธิภาพของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรณีศึกษา: ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)

สยมพร จิตตั้งสมบูรณ์ และ วรรณรพี บานชื่นวิจิตร


[mfn]ขวัญใจ อุณหวัฒนไพบูลย์. (2557). ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดสมุทรปราการ. สยามวิชาการ, 15(1), 60-71.[/mfn]   ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดสมุทรปราการ

ขวัญใจ อุณหวัฒนไพบูลย์


[mfn]วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล. (2557). การศึกษาทัศนคติของผู้ประกอบการต่อการส่งออกทุเรียนไทยไปตลาดสาธารณรัฐประชาชนจีน. สยามวิชาการ, 15(1), 72-86.[/mfn]   การศึกษาทัศนคติของผู้ประกอบการต่อการส่งออกทุเรียนไทยไปตลาดสาธารณรัฐประชาชนจีน

วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล


[mfn]สุชัญญา โคกสีอำนวย. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมในการปฏิบัติงานกับความผูกพันต่อองค์กร ของพนักงาน บริษัท เซ็นโทซ่า จำกัด จังหวัดขอนแก่น. สยามวิชาการ, 15(1), 87-106.[/mfn]   ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมในการปฏิบัติงานกับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัท เซ็นโทซ่า จำกัด จังหวัดขอนแก่น

สุชัญญา โคกสีอำนวย


[mfn]พลเชษฐ์ ศิริพรไทกุล และ ฤทธิรงค์ สัตยานุกูลกิจ. (2557). สมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานของแรงงานฝีมือที่พึงประสงค์ ของนายจ้างในกลุ่มอุตสาหกรรมไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล. สยามวิชาการ, 15(1), 107-123.[/mfn]   สมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานของแรงงานฝีมือที่พึงประสงค์ของนายจ้างในกลุ่มอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

พลเชษฐ์ ศิริพรไทกุล และ ฤทธิรงค์ สัตยานุกูลกิจ


[mfn]นุจรินทร์ ตมกลาง และ ดวงพร จันทร์ดี. (2557). การศึกษาสภาพปัญหาและการพัฒนาผู้ปฏิบัติงานด้านการตรวจสอบแบบไม่ทำลาย. สยามวิชาการ, 15(1), 124-132.[/mfn]   การศึกษาสภาพปัญหาและการพัฒนาผู้ปฏิบัติงานด้านการตรวจสอบแบบไม่ทำลาย

นุจรินทร์ ตมกลาง และ ดวงพร จันทร์ดี


วารสารสยามวิชาการ ปีที่ 15 เล่มที่ 1 ฉบับที่ 24 ก.ค. 2557 – ต.ค. 2557 Siam Academic Review Vol. 15 No.1 Issue 24 Jul 2014 -Oct 2014

Quick View

สยามวิชาการ ปีที่15 ฉบับที่25 พ.ย.2557-ก.พ.2558

[mfn]กิตติพงศ์ กุลโศภิน. (2558). ปัจจัยทางด้านการตลาดในการสร้างตราสินค้าของสโมสรทีมฟุตบอลในประเทศไทย. สยามวิชาการ, 15(2), 1-18.[/mfn]   ปัจจัยทางด้านการตลาดในการสร้างตราสินค้าของสโมสรทีมฟุตบอลในประเทศไทย

กิตติพงศ์ กุลโศภิน


[mfn]รุ่งโรจน์ สงสระบุญ. (2558). รูปแบบคุณภาพการให้บริการสุขภาพในโรงพยาบาลเอกชน. สยามวิชาการ, 15(2), 19-28.[/mfn]   รูปแบบคุณภาพการให้บริการสุขภาพในโรงพยาบาลเอกชน

รุ่งโรจน์ สงสระบุญ


[mfn]ดิเรก อัสถิ, ชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์  และ  อมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์. (2558). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษในเขตภาคกลาง. สยามวิชาการ, 15(2), 29-46.[/mfn]   ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมเยื่อ
และกระดาษในเขตภาคกลาง

ดิเรก อัสถิ  ชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์  และ  อมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์


[mfn]ปรากรม วารุณประภา. (2558). ภาวะผู้นำด้านการบรรเทาสาธารณภัยของกรุงเทพมหานคร. สยามวิชาการ, 15(2), 47-67.[/mfn]   ภาวะผู้นำด้านการบรรเทาสาธารณภัยของกรุงเทพมหานคร

ปรากรม วารุณประภา


[mfn]เบญจวรรณ บวรกุลภา. (2558). ทัศนคติและความตั้งใจซื้อรถยนต์ประหยัดพลังงานของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. สยามวิชาการ, 15(2), 68-79.[/mfn]   ทัศนคติและความตั้งใจซื้อรถยนต์ประหยัดพลังงานของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร

เบญจวรรณ บวรกุลภา


[mfn]พระมหาธฤติ รุ่งชัยวิทูร. (2558). การพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานเชิงพุทธ. สยามวิชาการ, 15(2), 80-94.[/mfn]   การพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานเชิงพุทธ

พระมหาธฤติ รุ่งชัยวิทูร


[mfn]รังสรรค์ อินทน์จันทน์. (2558). การพัฒนาการให้บริการสาธารณะขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครปฐม. สยามวิชาการ, 15(2), 95-105.[/mfn]   การพัฒนาการให้บริการสาธารณะขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครปฐม

รังสรรค์ อินทน์จันทน์. (2558). การพัฒนาการให้บริการสาธารณะขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครปฐม. สยามวิชาการ, 15(2), 95-105.


[mfn]ณัฐนุช วณิชย์กุล และ ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ. (2558). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการให้บริการทัวร์พุทธภูมิ ของบริษัท ทัวร์เอื้องหลวง จำกัด. สยามวิชาการ, 15(2), 106-121.[/mfn]   ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการให้บริการทัวร์พุทธภูมิของบริษัท ทัวร์เอื้องหลวง จำกัด

ณัฐนุช วณิชย์กุล และ ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ. (2558). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการให้บริการทัวร์พุทธภูมิของบริษัท ทัวร์เอื้องหลวง จำกัด. สยามวิชาการ, 15(2), 106-121.


[mfn]ณิชาภา เทียมทิพร และ สุดธิดา ขำพวง. (2558). การศึกษาแนวทางพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสำนักงาน ในกลุ่มเจเนอเรชั่นวายภายใต้กลุ่มอุตสาหกรรมไม้และเครื่องเรือนไทย. สยามวิชาการ, 15(2), 122-138.[/mfn]   การศึกษาแนวทางพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสำนักงานในกลุ่มเจเนอเรชั่นวายภายใต้กลุ่มอุตสาหกรรมไม้และเครื่องเรือนไทย

ณิชาภา เทียมทิพร และ สุดธิดา ขำพวง


วารสารสยามวิชาการ ปีที่ 15 เล่มที่ 2 ฉบับที่ 25 พ.ย. 2557 – ก.พ. 2558 Siam Academic Review Vol. 15 No.2 Issue 25 Nov 2014 -Feb 2015

Quick View

องค์ประกอบของการจัดการองค์การแห่งความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยเอกชนไทย

 

Title              : องค์ประกอบของการจัดการองค์การแห่งความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยเอกชนไทย: HIGH PERFORMANCE ON ORGANIZATIONAL MANAGEMENT OF PRIVATE UNIVERSITIES IN THAILAND

Researcher       :  เสาวภา เมืองแก่น  บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม

                                 รองศาสตราจารย์ ดร.จอมพงศ์ มงคลวนิช  บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม

                                 รองศาสตราจารย์ ดร.ประกอบ คุณารักษ์  บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย

บทคัดย่อ              :  การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาองค์ประกอบของการจัดการองค์การแห่งความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยเอกชนไทย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) โดยใช้แนวทางการรวบรวมข้อมูลจากการวิจัยเอกสารและสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 18 คน เสริมด้วยข้อมูลเชิงปริมาณ (quantitative data) จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 378 คน นำเสนอในรูปแบบการพรรณาเชิงวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่าองค์ประกอบของการจัดการองค์การแห่งความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยเอกชนไทย มีจำนวนหกด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศในส่วนของการจัดการองค์การที่มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดตามภารกิจหลักของการอุดมศึกษา 2) ด้านภาวะผู้นำผู้บริหารเกี่ยวกับลักษณะของผู้นำเชิงคุณลักษณะ ผู้นำเชิงพฤติกรรม ผู้นำเชิงการบริหารจัดการ 3) ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์เกี่ยวกับการคัดเลือกสรรหาบุคลากร การพัฒนาบุคลากร การธำรงรักษาบุคลากร 4) ด้านวัฒนธรรมองค์การในส่วนของวัฒนธรรมองค์การทางความคิด วัฒนธรรมองค์การทางพฤติกรรม วัฒนธรรมองค์การทางวัตถุ 5) ด้านการจัดการความรู้เกี่ยวกับการกำหนดทิศทาง เป้าประสงค์ของการจัดการความรู้ การสร้างแสวงหา การกลั่นกรองความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการถ่ายทอดความรู้ และ 6) ด้านการจัดการเทคโนโลยีในส่วนของโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ การยอมรับและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และนโยบายเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

คำสำคัญ              :  การจัดการ, มหาวิทยาลัยเอกชนไทย, องค์ประกอบของการจัดการ, องค์การแห่งความเป็นเลิศ

Abstract             :  The objective of this study was to examine the components of the high performance management of private universities in Thailand. The study employed qualitative methodologies, where the data were collected from related research documents, in-depth interviews of 18 key performances along with quantitative data of 378 sample units which were presented, by analytical qualification mode. The result showed that components of high performance organization management of private universities in Thailand consisted of six dimensions as follow; 1) High performance operation; on organization management were effective leaded to maximum performance according to higher education missions. 2) The leadership executive; behavioral and characteristic of management leadership in behavior and management are needed. 3) The human resource management; recruitment, development and personnel retention are provided. 4) The organizational culture; those were cooperate culture in creative thoughts, behavior and objects. 5) The knowledge management; created, targeted, sought and scrutinized. 6) The Technology management was infrastructure of the information of technology, also acceptance, usage and policy.

Key words         :  management, private universities, components of management, high performance organization


Publication        : วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยธนบุรี  ปีที่ 12 ฉบับที่ 28 พฤษภาคม-สิงหาคม 2561  Journal of Thonburi University Vol.12 No.28 May-Aug 2018

Link to Publication:    https://tci-thaijo.org/index.php/trujournal/issue/view/10228

Bibliography     :  เสาวภา เมืองแก่น, จอมพงศ์ มงคลวนิช และ ประกอบ คุณารักษ์. (2561). องค์ประกอบของการจัดการองค์การแห่งความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยเอกชนไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยธนบุรี,  12(28), 328-341. 


Quick View
วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล-ปีที่24-ฉบับที่1-มค-เมย-2557

อาการไม่พึงประสงค์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือดของยาต้านโรคจิต

บทคัดย่อ

ยาต้านโรคจิตจัดเป็นยามาตรฐานสำหรับการรักษาโรคจิตเภท และความผิดปกติทางอารมย์หลายชนิด เช่น โรคอารมย์สองขั้ว โรคเศร้า หรือโรควิตกกังวล ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได้ เนื่องจากมีพฤติกรรมเสี่ยง เช่น สูบบุหรี่ อ้วน รวมถึงการได้รับยาต้านโรคจิตหลายชนิดก็อาจมีผลทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่น ความดันโลหิตต่ำขณะเปลี่ยนท่า หัวใจเต้นเร็ว รวมถึงอาการไม่พึงประสงค์ด้านเมตาบอลิก และภาวะหัวใจผิดจังหวะจากการเกิด QTc interval prolongation โดยยาต้านโรคจิตแต่ละชนิดจะมีความเสี่ยงในการทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือดแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติทางเภสัชพลศาสตร์ของยาต่อตัวรับชนิดต่างๆ ในร่างกาย สำหรับการเกิดความดันโลหิตต่ำขณะเปลี่ยนท่า และภาวะหัวใจเต้นเร็ว จะพบได้บ่อยจากการใช้ยาต้านโรคจิตรุ่นเก่า…

KEYWORDS: ยาต้านโรคจิต, อาการไม่พึงประสงค์, ระบบหัวใจและหลอดเลือด, ความดันโลหิตต่ำขณะเปลี่ยนท่า, หัวใจเต้นเร็ว,  อาการด้านเมตาบอลิก, weight gain, QTc interval prolongation, myocarditis, cardiomyopathy


งานที่อ้างถึง

ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์ และ ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา. (2557). อาการไม่พึงประสงค์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือดของยาต้านโรคจิต. วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล, 24(1), 48-62.

Cardiovascular Adverse Effects of Antipsychotic Drugs

Quick View
วารสารกระแสวัฒนธรรม-มหาวิทยาลัยสยาม

แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช

 

[mfn]สมหมาย จันทร์เรือง. (2557). แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช. กระแสวัฒนธรรม, 15(28), 17-26.[/mfn]   แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช  Political Concepts on Buddhist Approach of M.R. Kukrit Pramoj

เจ้าของผลงาน       :  ผศ.ดร. สมหมาย จันทร์เรือง

บทคัดย่อ                : การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ระเบียบวิธีวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาเจาะจง จำนวน 14 คน และกระบวนการสนทนากลุ่มจากผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน  5 คน นำมารวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณา ผลการศึกษาพบว่า แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช คือการปกครอง ที่ใช้หลักธรรมทางพุทธศาสนาในการปกครอง ได้แก่ ทศพิธราชธรรม สังคหวัตถุ และจักรวรรดิวัตร ซึ่งสามารถนำมาใช้กับการเมืองการปกครองไทยในปัจจุบัน เฉพาะอย่างยิ่งทศพิธราชธรรม ได้นำมาประยุกต์กับการบริหารองค์การภาครัฐและภาคเอกชนอย่างกว้างขวาง สำหรับการปกครองของประเทศไทยด้วยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขสอดคล้องกับหลักธรรมราชาหรือราชาธิปไตย ที่ผู้นำการปกครองต้องกอปรด้วย คุณธรรมจริยธรรมตามหลักธรรมทางพุทธศาสนา โดยความซื่อสัตย์สุจริต และความกล้าหาญเป็นคุณสมบัติที่สังคมไทยต้องการมากที่สุด นอกจาก ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้นำเสนอแนวคิดทางการเมืองแนวพุทธผ่านทางนวนิยายและบทความในหนังสือพิมพ์แล้วยังได้แสดงบทบาทดำรงตนและดำรงความเป็นผู้นำทางการเมืองตามหลักธรรมทางพุทธศาสนา อันถือเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับนักการเมืองและการบริหารบ้านเมืองไทยในทุกยุคทุกสมัย

คำสำคัญ                :  แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธ,  ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช

Abstract              :  The objective of this research is study the Buddhist Approach on Political Concepts of M.R. Kukrit Pramoj. The research methodology employed this research is qualitative, including several qualitative methods of (1) documentary research, (2) in-depth interview with fourteen informants selected by purposive sampling method and (3) focus group interview with five qualifying experts, in which descriptive approach of data analysis were employed. The result of the study was that the Buddhist political Concepts of M.R. Kukrit Pramoj resembles Buddhist principles of governance which include: desa-raja-dhamma (Ten Duties of the King), sanga-ha-vatthu (Principles of Service and Social Integration), and cak-ka-vatti-vat (Duties of the Great rulers). All these principles were being widely adapted to modern Politics and Governance in Thailand, especially the desa-raja-dhamma (Ten Duties of the King) that being applied in managing public and private sectors nationwide. Consequently, the democratic form of governance in Thailand with the King as the head of the state stipulates the condition of dhamma-raja in which the head of the state must uphold their virtue and moral according to the Buddhist principles. Ultimately, honesty, integrity, and courage are leadership characteristics mostly demanded by Thai public and society. Apart from the fact that M.R. Kukrit Pramoj had presented his Buddhist political ideology via his several outstanding masterpieces including novels and newspaper articles, he also consistently live and committed to his role status as a faithful Buddhist-principle-guided Thai political leader, thus, being a great role model for both politics and governance circles in Thailand until nowadays.

Keywords           :  Political Concepts on Buddhist Approach, M.R. Kukrit Pramoj

Download PDF  :  แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช  Political Concepts on Buddhist Approach of M.R. Kukrit Pramoj


Publication        :  กระแสวัฒนธรรม ปีที่ 15 ฉบับที่ 28 ก.ค.-ธ.ค. 2557   Cultural Approach  Vol.15 No.28 Jul-Dec 2014

Link to Publication:  https://e-library.siam.edu/e-journal/article/journal-of-cultural-approach-2014-vol15-no28-jul-dec/

Bibliography     :  สมหมาย จันทร์เรือง. (2557). แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช. กระแสวัฒนธรรม, 15(28), 17-26.


คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

Quick View