การทำนายจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย โดยใช้การวิเคราะห์อนุกรมเวลา ด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล (2559)

 

Title              : การทำนายจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย โดยใช้การวิเคราะห์อนุกรมเวลา ด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล

Researcher       :  Pitchayakorn Lake พิชญากร เลค
Department     :  Faculty of Information Technology, Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                :  pitchayakorn@siam.edu

Abstract            : This research aim to develop the model of forecasting the number of International Tourists arrival to Thailand. They can expand economic of Thailand. The research provide 3 techniques, which
techniques are suited to the forecasting model i.e. Linear Regression, Multi-Layer Perceptron and Support Vector Machine for Regression. The study data was the number of the International Tourists arrival from 2007 to 2015, which they were on the amount of 108 months.
The experimental results show that the forecasting trends the number of ASEAN travelers to visit Thailand i.e. China, Malaysia, Japan and Korea. The forecasting model achieves the highest accuracy rate as follows, 1) the support vector machine for regression forecasting was the most achievable for China, Malaysia and Korea, which the highest accuracy rate were 12.07%, 8.41% and 14.29% of MMRE, respectively. 2) the linear regression forecasting was the most achievable for Japan, which the highest accuracy rate was 8.17% of MMRE.

Keywords         :  Forecasting, Number of International Tourist Arrival to Thailand, Time Series Analysis, Data
Mining Techniques


Proceeding       :  การวิจัยเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน Proceedings KU SCR 1st National Conference 2559: การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ประจำปี 2559                         

Link to Proceeding: http://www.src.ku.ac.th/conference/

Bibliography    : พิชญากร เลค. (2559). การทำนายจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย โดยใช้การวิเคราะห์อนุกรมเวลา ด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล. ใน รายงานการประชุม การวิจัยเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน Proceedings KU SCR 1st National Conference 2559: การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ประจำปี 2559 (หน้า 453-463). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.


Quick View

การนำเสนอกระบวนการเสริมพลังชุมชนในการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

[mfn]ณัฐปภัสร์ วรธันย์ผาสุข และ ชนิตา รักษ์พลเมือง. (2557). การนำเสนอกระบวนการเสริมพลังชุมชนในการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 9(2), 283-296.[/mfn]   การนำเสนอกระบวนการเสริมพลังชุมชนในการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ณัฐปภัสร์ วรธันย์ผาสุข และ ชนิตา รักษ์พลเมือง


Professor Emeritus Dr.Chanita Rukspollmuang

Quick View

การนำเสนอยุทธศาสตร์การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสันติวัฒนธรรมโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน

[mfn]ศศิรัศม์ วีระไวทยะ และ ชนิตา รักษ์พลเมือง. (2557). การนำเสนอยุทธศาสตร์การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสันติวัฒนธรรมโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน. วารสารครุศาสตร์, 42(2), 117-130.[/mfn]   การนำเสนอยุทธศาสตร์การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสันติวัฒนธรรมโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน

ศศิรัศม์ วีระไวทยะ และ ชนิตา รักษ์พลเมือง


Professor Emeritus Dr.Chanita Rukspollmuang

Quick View

การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดการใช้ยาในงานวิจัยการใช้ยา (2561)

การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดการใช้ยาในงานวิจัยการใช้ยา (2561)

ผู้เขียนบทความ: ภญ. ดารารัตน์ สำเร็จวิทย์

บทคัดย่อ:

งานวิจัยเกี่ยวกับการใช้ยา มีกระบวนการวิจัยเกี่ยวข้องกับการศึกษาทางเภสัชระบาดวิทยาในการประเมินการใช้ยาหรือการสั่งจ่ายยาในกลุ่มประชากร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล โดยเป็นองค์ประกอบของระบบยา งานวิจัยการใช้ยาเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง กระบวนการ และผลลัพธ์ของการใช้ยา โดยรูปแบบของงานวิจัยแบ่งออกเป็น งานวิจัยรูปแบบตัดขวาง การเก็บข้อมูลระยะยาว หรือรูปแบบเก็บข้อมูลต่อเนื่องระยะยาว ทั้งนี้ การเก็บข้อมูลในงานวิจัยการใช้ยามีหลายประเภท ขึ้นกับปัญหาการใช้ยาที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ เครื่องมือการเก็บข้อมูลการวิจัยมีหลายชนิด ผู้วิจัยควรเลือกวิธีการเก็บข้อมูล และใช้วิธีการแปรผลข้อมูลที่เหมาะสม ทั้งนี้ ในการประเมินติดตามผลการใช้ยา นิยมรายงานผลการเก็บข้อมูลในรูปแบบตัวชี้วัดการใช้ยา โดยชุดตัวชี้วัดแบ่งออกเป็น ตัวชี้วัดหลักและชุดตัวชี้วัดเสริม โดยตัวชี้วัดหลักอธิบายสถานการณ์การใช้ยาในด้าน พฤติกรรมการใช้ยา, การดูแลรักษาผู้ป่วย และด้านสถานพยาบาล โดยองค์การอนามัยโลกแนะนำให้ใช้หลักการ ATC/DDD ในการศึกษาข้อมูลการใช้ เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างสถาบัน ภูมิภาค หรือในระดับประเทศได้

คำสำคัญ: การวิจัยการใช้ยา drug utilization studies ตัวชี้วัดการใช้ยา

Link to Academic articleการประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดการใช้ยาในงานวิจัยการใช้ยา 

Quick View

การประยุกต์ใช้ปืนแม่เหล็กไฟฟ้าเพื่อทดสอบเรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์

 

Title              :  การประยุกต์ใช้ปืนแม่เหล็กไฟฟ้าเพื่อทดสอบเรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ : Application of the Electromagnetic Gun for Projectile Motion Testing

Researcher       :  คณิต ทองพิสิฐสมบัติ และ พุทธธิดา ชัยสวัสดิ์
Kanit Thongpisisombat and Phuttatida Chaisawas

Department     :  ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

E-mail                : phuttatida.cha@siam.edu

บทคัดย่อ             :   งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อออกแบบและสร้างปืนแม่เหล็กไฟฟ้า สําหรับใช้ในการทดลอง เรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ที่มีความแม่นยําในการวัดที่สูงขึ้น โดยโครงสร้างของปืนแม่เหล็กไฟฟ้าทำจากท่ออลูมิเนียมท่ออลูมิเนียมยาว 56 cm มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอกและภายใน 8 mm และ 6 mm ตามลําดับ พันด้วยสายไฟ AWG เบอร์ 20 เป็นขดลวดโซลินอยด์จํานวน 3 ชั้น (ชั้นละ 33 รอบ) ตัวโพรเจกไทล์ เป็นวัสดุเฟอร์โรแมกเนต คือ ดอกสว่างทําเกลียวเบอร์ 3 ขนาด 3 g โดยใช้แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงขนาด 50 V ให้กับตัวเก็บประจุ 3 x 10μF โดยใช้ตัวเรียงกระแสชนิดควบคุมด้วยซิลิคอน (SCR) เป็นอุปกรณ์สวิทซ์ควบคุมกระแสภายในขดลวดโซลินอยด์ เพื่อเปลี่ยนพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นพลังงานจลน์ของโพรเจกไทล์ โดยความเร็วของโพรเจกไทล์คํานวณได้จากความชันของกราฟความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งการกระจัดในแนวราบและแนวดิ่ง (x,y) และใช้เวลาจากเครื่องจับเวลาโฟโต้เกตระบบดิจิตอล (digital photogate timer) เท่ากับ 3.113 m/s และ 3.571 m/s ตามลําดับ เมื่อคํานวณหาเปอร์เซ็นต์ความแตกต่างของทั้งสองวิธีมีค่า 13.67%

คําสําคัญ             :  การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ ปืนแม่เหล็กไฟฟ้า

Abstract            :  The designed and experiment setup of the electromagnetic gun were to improve measurement accuracy in projectile motion. The magnetic gun made from an aluminum tube is 56 cm long, 8 mm and 6 mm for outer and inner diameter respectively. The end of a tube was bound by AWG cable made for 3 layers (33 rounds/layer) as a solenoid. For the projectile mass testing is a ferromagnetic material screw nail in which a 3 g weight and 5 cm long. The DC power supply with 50 volt charged to the 3 x 10μF capacitor and Silicon Control Rectifier (SCR) is a current controller in solenoid by charging by the electromagnetic into kinetic energy for the projectile. The velocity of projectile was calculated from the slope of x,y positions plot and using a digital photogate timer. The results showed that both methods were 3.113 m/s and 3.571 m/s which corresponds to the percentage difference is 13.67%.

Keywords        :    projectile motion, electromagnetic gun


Proceeding       : รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5  The 5th Academic Science and Technology Conference 2017 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0” (Science and Technology as a Key Driver towards Thailand 4.0) วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม 2560  ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร ผู้จัดหลัก: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

Link to Proceeding:    https://www.astcconference.com/page/proceedings#astc-content

Bibliography     :    คณิต ทองพิสิฐสมบัติ และ พุทธธิดา ชัยสวัสดิ์. (2560). การประยุกต์ใช้ปืนแม่เหล็กไฟฟ้าเพื่อทดสอบเรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0” (หน้า 582-586). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.


Quick View

การประเมินนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต และสมรรถนะ การใช้ยาอย่างสมเหตุผลของอาจารย์พยาบาล (2563)

ชื่อบทความ       : การประเมินนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต และสมรรถนะ การใช้ยาอย่างสมเหตุผลของอาจารย์พยาบาล

Title              : An Evaluation of the Policy of Integrating RDU Curriculum into the Bachelor of Nursing Science Program and RDU Competency of Nurse Instructors

ผู้เขียน/Author  : ภาวิดา พุทธิขันธ์, กนกเลขา สุวรรณพงษ์, นฤมล อังศิริศักดิ์, กมลรัตน์ เทอร์เนอร์ และ สุนทราวดี เธียรพิเชฐ 

Researcher       : Phawida Putthikhan, Kanoklekha Suwannapong, Naruemol Angsirisak *, Kamolrat Turner & Suntharawadee Theinpichet

Department     : * Faculty of Nursing, Siam University, Bangkok, Thailand

ฐานข้อมูลงานวิจัย มหาวิทยาลัยสยาม    : https://e-research.siam.edu/kb/an-evaluation-of-the-policy/

Link to article : วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 ม.ค.-มิ.ย. 63 | Thai Red Cross Nursing Journal Vol. 13 No. 1 January – June (2020) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/trcnj/article/view/243833


Link to Published: วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย / TCI 1


Bibliography     :  ภาวิดา พุทธิขันธ์, กนกเลขา สุวรรณพงษ์, นฤมล อังศิริศักดิ์, กมลรัตน์ เทอร์เนอร์ และ สุนทราวดี เธียรพิเชฐ. (2563). การประเมินนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต และสมรรถนะ การใช้ยาอย่างสมเหตุผลของอาจารย์พยาบาล. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 13(1), 282-301.


 

Quick View
วารสารวิธีวิทยาการวิจัย-ปีที่26-ฉบับ3-2556 Journal-of-Research-Methodology-2013-vol26-no3-sep-dec

การพัฒนากระบวนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา

[mfn]ชนิตา รักษ์พลเมือง, ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง, กมลวรรณ ตังธนกานนท์, เฟื่องอรุณ ปรีดีดิลก และ สุมิตร สุวรรณ. (2556). การพัฒนากระบวนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 26(3), 301-321.[/mfn]   การพัฒนากระบวนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา

ชนิตา รักษ์พลเมือง, ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง, กมลวรรณ ตังธนกานนท์, เฟื่องอรุณ ปรีดีดิลก และ สุมิตร สุวรรณ


Professor Emeritus Dr.Chanita Rukspollmuang

Quick View

การพัฒนาชุมชนเขตเมือง: การศึกษาบริบทพื้นที่ชุมชนเมืองเพื่อการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร

 

Title              :  การพัฒนาชุมชนเขตเมือง: การศึกษาบริบทพื้นที่ชุมชนเมืองเพื่อการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 

Researcher       :  ผศ.ดร.กุลธิดา จันทร์เจริญ และ ผศ.ดร.เนตร หงษ์ไกรเลิศ
Department     :  ศูนย์วิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยสยาม

E-mail                :   rcfcd.com@gmail.com

บทคัดย่อ             :  การศึกษาบริบทพื้นที่ชุมชนเมืองเพื่อการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed methods) ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ภายใต้โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่สร้างสรรค์เพื่อสุขภาวะ: กรณีนําร่องพื้นที่บริบทเมือง เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์ คือ 1) พัฒนาเครื่องมือเพื่อจัดทำข้อมูลพื้นฐาน และสำรวจพื้นที่เขตภาษีเจริญ 2) ศึกษาบริบท สถานภาพพื้นที่เขตภาษีเจริญ 3) จัดทำข้อเสนอต่อการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะเขตภาษีเจริญ ระยะเวลาดําเนินงาน 12 เดือน ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2555 ถึงพฤษภาคม 2556 มีการดําเนินงาน 3 ขั้นตอน คือ 1) การพัฒนาเครื่องมือและการศึกษาเอกสาร 2) การสํารวจและการศึกษาเชิงคุณภาพ 3) การวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทาํข้อเสนอต่อการพัฒนาพื้นที่สร้างสรรค์เพื่อสุขภาวะเขตภาษีเจริญ เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสํารวจ การสนทนากลุ่ม (focus group) ยืนยันและปรับปรุงข้อมูล โดยใช้หลักการเทคนิคแบบสามเส้า (triangular technique) กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) ตามตำแหน่งหน้าที่ในฐานะแกนนำชุมชน ตัวแทนหน่วยงาน และด้วยความสมัครใจในฐานะสมาชิกชุมชน จํานวนตัวอย่าง คือ การสํารวจแกนนําชุมชน 80 คน การสนทนากลุ่ม ประกอบด้วย แกนนําชุมชน 15 คน สมาชิกชุมชน 15 ชุมชนๆ ละ 30 คน รวม 450 คน ผู้แทนวัด โรงเรียน สถานประกอบการ สถานพยาบาลจาก 7 ชุมชน 60 คน ผู้แทนหน่วยงาน ภาคี 80 คน
ผลการศึกษา สรุปคือ 1) การพัฒนาเครื่องมือในการสํารวจข้อมูล เพื่อจัดทําฐานข้อมูลเรียกว่า “แผนที่ชุมชน” (Community Mapping) มีองค์ประกอบ 4 ประการได้แก่ ข้อมูลพื้นที่สาธารณะ ข้อมูลพื้นที่ใช้ประโยชน์ข้อมูลทรัพยากรบุคคลของชุมชน และข้อมูลการดําเนินกิจกรรมการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ 2) บริบทพื้นที่เขตภาษีเจริญ ตามองค์ประกอบของแผนที่ชุมชน สรุปคือ มีพื้นที่รกร้าง 19 แห่งใน 6 แขวง พื้นที่ชุมชนแออัด 40 พื้นที่ตลาดและตลาดนัด 10 แห่ง สถานศึกษา 37 แห่ง วัด 27 วัด โรงพยาบาล 8 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุข 2 ศูนย์จุดหาบเร่/แผงลอย 468 แผง ห้างสรรพสินค้า 1 ห้าง โรงแรม 4 แห่ง ร้านอาหาร 257 ร้าน โรงงานที่ขึ้นทะเบียน 690 โรงงาน ลานกีฬาหรือสนามกีฬา 18 แห่ง พื้นที่สีเขียวประเภทสวนหย่อม 60 พื้นที่รวมขนาดพื้นที่ 5,108.75 ตารางเมตร ผู้นำชุมชน 451 คน ปราชญ์ชาวบ้าน 30 คน มีพื้นที่ 7 ชุมชน 4 แขวง เป็นพื้นที่นำร่องเพื่อพัฒนาพื้นที่เพื่อสร้างสรรค์สุขภาวะใน 3 มิติคือ 1) พัฒนาพื้นที่เพื่อดำเนินกิจกรรมด้านอาหาร 2) พัฒนาพื้นที่เพื่อดำเนินกิจกรรมด้านการออกกาํลังกาย 3) พัฒนาพื้นที่เพื่อดำเนินกิจกรรมการปรับภูมิทศัน์
ข้อเสนอต่อการพัฒนาพื้นที่สร้างสรรค์เพื่อสุขภาวะ คือ สำนักงานเขตภาษีเจริญและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรส่งเสริมกระบวนการร่วมคิด ร่วมทําของชุมชน เพื่อยกระดับให้ชุมชนเป็นชุมชนจัดการตนเอง มีการจัดตั้งคณะทาํงานที่ประกอบด้วยผู้แทนชุมชน ผู้แทนจากหน่วยงานทุกภาคส่วน ร่วมกับภาคีเครือข่ายกําหนดผังเมือง และจัดการสภาพแวดล้อมเมืองอย่างจริงจัง ค้นหาแนวทางลดข้อจํากัด หรือปัญหาที่เกิดขึ้นจากการมีพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อสุขภาวะ หามาตรการแรงจูงใจแนวร่วมในการพัฒนาพื้นที่สร้างสรรค์เพื่อสุขภาวะ ส่งเสริมให้ชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ของการจัดการพื้นที่สุขภาวะ และจัดทำฐานข้อมูลพื้นที่ตามองค์ประกอบของแผนที่ชุมชนที่มีความครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน

คําสําคัญ             :  ชุมชนเมือง, พื้นที่สุขภาวะ, วิจัย, การพัฒนาเมือง

Abstract            :  The context study of urban communities of Pasi Charoen District for healthy space development is mixed of qualitative and quantitative research method. This study is a part of the research project for Healthy Space Development: A Pilot Project in Pasi Charoen District, Bangkok. The objectives of this study are 1) to develop a tool for survey baseline data in the area of Pasi Charoen District 2) to study the context of Pasi Charoen District and 3) to propose the recommendations for healthy space development of Pasi Charoen District. The 3 steps of implementation period started from June 2012 to May 2013 were 1) to develop tools and review the documents, 2) survey and qualitative study using focus group and 3) analyze and synthesize recommendations. Survey and focus group were being used to collect the data through triangular technique to verify and update. Purposive random sampling was being designed to select the respondents from community leaders, representative agency and as a voluntary member of the community. 80 community leaders were being randomized to answer the questionnaire. Focus group was being done by the rest, 15 community leaders, 450 community members from 15 communities, 60 representatives of 7 communities and 80 representatives of member agencies.
The conclusions are the following: 1) data explorer called community mapping was developed with four components namely: information of public area, information of space utilization, information of resource person in the community, and information of activities related to healthy space development, 2) according to community mapping, Pasi Charoen’s context is composed of 19 useless areas in 6 sub-district, 40 congested areas, 10 markets, 35 schools, 1 university, 1 college, 27 temples, 8 hospitals and health centers, 468 outdoor shops, 1 department store, 4 hotels, 257 food shops, 690 factories, 18 exercise fields and 60 green fields with total land area is 5,108.75 square meters. There are 451 community leaders, 30 local wisdoms and 7 communities from 4 sub-districts are the leaders of this first year project to develop the healthy space with 3 components: 1) the development of the area to carry out food activities, 2) to conduct the exercise activities and 3) to develop the area for landscaping activities.
The recommendations are 1) the involved organizations should promote the process of community participation to be self-management communities, 2) should establish a working group which consists of community representatives, representatives from departments in all sectors and collaborates with all related networks to define the concrete plan, and develop the urban environment sustainably, 3) identify the limitations or problems to reduce the risky areas of health, 4) motivate to add more networking to develop healthy space, 5) enhance the learning process as a learning community for the management of healthy space and 6) update the existing database every now and then.


Download PDF         : การพัฒนาชุมชนเขตเมือง: การศึกษาบริบทพื้นที่ชุมชนเมืองเพื่อการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 

Link to Department:    http://rcfcd.com/

Bibliography     :    กุลธิดา จันทร์เจริญ และ เนตร หงษ์ไกรเลิศ. (2556). การพัฒนาชุมชนเขตเมือง: การศึกษาบริบทพื้นที่ชุมชนเมืองเพื่อการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยสยาม.


 

Quick View

การพัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะด้านการพยาบาลอนามัยชุมชนของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม (2562)

Title              :  การพัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะด้านการพยาบาลอนามัยชุมชนของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม The Community Health Nursing Competencies Indicators Development among Nursing Students in Faculty of Nursing, Siam University

Researcher       : Sanikan Seemanee, Lecturer (Ph.D), Chanida Mattavangkul, Lecturer (Ph.D), Penrung Nualcham, Lecturer, 

Department     :  Faculty of Nursing,  Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                : Corresponding author: san_seemanee@siam.edu


Bibliography    : ศนิกานต์ ศรีมณี, ชนิดา มัททวางกูร และ เพ็ญรุ่ง นวลแจ่ม. (2562). การพัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะด้านการพยาบาลอนามัยชุมชนของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 20(39), 20-35.


[dflip id="7736"][/dflip]

วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่ 20 ฉบับที่ 39 ก.ค.-ธ.ค. 2562 Journal of Nursing, Siam University Vol. 20 No. 39 Jul-Dec 2019


Quick View

การพัฒนาทักษะการบริหารสถานศึกษาสำหรับผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา

 

ชื่อบทความ     :  การพัฒนาทักษะการบริหารสถานศึกษาสำหรับผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาDevelopment of School Administration Skills for Phrapariyattidhamma School Administrators, General Education Section

เจ้าของผลงาน       :  พระวรธนกร กิตฺติญาโณ แก้วพิลา, สมศักดิ์ บุญปู่, ระวิง เรืองสังข์ และ ผศ.ดร.สมหมาย จันทร์เรือง 

บทคัดย่อ                :  การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาด้านทักษะการบริหาร ๒) เพื่อพัฒนาทักษะการบริหาร ๓) เพื่อเสนอกระบวนการพัฒนาทักษะการบริหารสถานศึกษาสำหรับผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสานวิธี ได้แก่ การวิจัยเชิงปริมาณ ด้วยการแจกแบบสอบถาม เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน ๕๕๖ รูป/คน สถิติที่ใช้ การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสำรวจ และแบบตรวจสอบกลุ่มตัวอย่าง ๒๐๑ รูป/คน สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ๑๐ รูป/คน สนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ ๑๐ รูป/คน เครื่องมือ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัย พบว่า
๑. สภาพปัจจุบันปัญหาด้านทักษะการบริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา พบว่ามีการขาดการบริหารอย่างเป็นระบบและมีการพัฒนาไม่ทันกับการเปลี่ยนแปลงแต่การมอบอำนาจในการตัดสินใจยังขึ้นอยู่กับผู้บริหารที่มีลำดับชั้นสูงกว่า การจัดการบริหารในภาพรวมไม่เด่นชัดรวมทั้งการบริหารจัดกิจการคณะสงฆ์ในระดับต่างๆ ตั้งแต่ระดับเริ่มต้นจนถึงระดับดี การสั่งการจากบนลงล่างการศึกษาของวัดและของคณะสงฆ์ขาดการพัฒนาทักษะด้านการบริหารจัดการที่ดี
๒. การพัฒนาทักษะการบริหารสถานศึกษา สำหรับผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา พบว่า ความเป็นไปได้ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด และความถูกต้อง ความเป็นประโยชน์ และความเหมาะสมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ตามลำดับ
๓. กระบวนการพัฒนาทักษะการบริหารสถานศึกษาสำหรับผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ประกอบด้วย ๕ ส่วน ดังนี้ ๑) องค์ประกอบของทักษะผู้บริหารสถานศึกษา ๕ ด้าน
๒) กระบวนการพัฒนาทักษะการบริหารสถานศึกษา ๕ ด้าน ๓) ประเภทการพัฒนาทักษะการบริหารสถานศึกษา ๕ ด้าน ๔) องค์ประกอบของการบริหารสถานศึกษา ๖ ด้าน และ ๕) กิจกรรมการพัฒนาทักษะ ๕ กิจกรรม อีกทั้งยังพบหลักปาปณิกธรรม ๓ ที่ทำให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้บริหารที่ตรงตามหลักพระพุทธศาสนา คือ ผู้มองการณ์ไกลในการทำงาน (จักขุมา) เป็นผู้เชี่ยวชาญในการทำงาน (วิธูโร) และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี (นิสฺสยสัมปันโน)

คำสำคัญ                :  การพัฒนา, ทักษะการบริหารสถานศึกษา, โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา


 

Publication        : วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2561

                                  Journal of Educational Review Faculty of Educational in MCU Vol.5 No.3  September-December 2018

Link to Publication:    http://www.ojs.mcu.ac.th/index.php/edmcu/issue/archive

Download PDF        :    https://tci-thaijo.org/index.php/EDMCU/article/view/163594

Bibliography  : พระวรธนกร กิตฺติญาโณ แก้วพิลา, สมศักดิ์ บุญปู่, ระวิง เรืองสังข์ และ สมหมาย จันทร์เรือง. (2554). การพัฒนาทักษะการบริหารสถานศึกษาสำหรับผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์, 5(3), 66-76.


คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

Quick View