Self-preferred route of delivery of Thai obstetricians and gynecologists (2016)

Title           : Self-preferred route of delivery of Thai obstetricians and gynecologists

Researcher       : Kovavisarach, E.Ruttanapan, K.

Abstract            : Background: The attitude of Obstetricians and Gynecologists (OB-GYNs) towards performing cesarean delivery on maternal request (CDMR) together with their preferred route of delivery for themselves or their wives is considered as important responsible factors of increasing cesarean delivery.
Objective: To assess the attitudes of Thai Obstetricians and Gynecologists with regard to their self-preferred route of delivery, willingness to perform cesarean delivery on maternal request, and associated factors.
Material and Method: From July1, 2013 to September 30, 2013, a cross-sectional study was carried out of 1,950 members of The Royal Thai College of Obstetricians and Gynaecologists who were randomized before being sent mailed questionnaires. The questionnaires requested details of the OB-GYNs’ demographic data and asked about their self-preferred route of delivery for themselves or their wives (in the case of male doctors) and their willingness to perform cesarean delivery on maternal request (CDMR). The questionnaires were returned via mail.
Results: Three hundred and seventy OB-GYNs (18.9%) completed and returned the questionnaires via mail. In a scenario of uncomplicated singleton cephalic presentation pregnancy at term, vaginal delivery was chosen as the most preferred route of delivery (68.9%). The significant associated factors for preferred cesarean delivery were male, age <40 years, experience in practice as OB-GYN <10 years and prior cesarean delivery. Many (53.2%) were willing to perform cesarean delivery on maternal request.
Conclusion: Most Thai Obstetricians and Gynecologists (68.9%) preferred vaginal delivery for themselves or their wives, but many (53.2%) were willing to perform cesarean delivery on maternal request.

Keywords: Cesarean delivery, Vaginal delivery, Preferred route of delivery, Thai Obstetricians and Gynecologists


Link to Academic article: http://www.jmatonline.com/index.php/jmat/article/view/7017


Journal : Journal of the Medical Association of Thailand2016, 99(Suppl. 2)


Bibliography     : Kovavisarach, E., & Ruttanapan, K. (2016). Self-preferred route of delivery of Thai obstetricians and gynecologists. Journal of the Medical Association of Thailand, 99(Suppl. 2), S84–S90.


 

Quick View

α-Lipoic acid sensitizes lung cancer cells to chemotherapeutic agents and anoikis via integrin β1/β3 downregulation(2516)

Title           : α-Lipoic acid sensitizes lung cancer cells to chemotherapeutic agents and anoikis via integrin β1/β3 downregulation (2516)

Researcher       : Puchsaka, P.W., Chaotham, C.Chanvorachote, P.

Abstract            :  Chemotherapeutic failure and metastasis are the main causes of high mortality rate in lung cancer. Alteration of cellular redox status in response to endogenous stimuli or exogenous compounds has a significant impact on cell signaling and behavior. Herein we divulge for the first time that lung cancer cells exposed to α-lipoic acid (LA) resulted in a higher level of cellular superoxide anion (O2·-) and hydrogen peroxide (H2O2), and such an increase of the specific reactive oxygen species (ROS) downregulated integrin β1 and β3, the integrins known for potentiating aggressive behavior and metastasis. The LA-treated cells exhibited significant decrease in their abilities to survive in detached condition and grow in anchorage-independent soft agar assay. Furthermore, LA sensitized the cells to cisplatin, etoposide and paclitaxel-induced apoptosis. For underlying mechanism, we found that the treatment of the cells with LA significantly decreased integrin β1 and β3, while had no effect on integrin α5 and αv. Interestingly, survival protein p-AKT and anti-apoptotic protein Bcl-2 were reduced in an association to such integrin modulations. Using ROS probes and selective anti-oxidants, we have shown that H2O2 and O2·- induced by LA are key players for the decrease of β1 and β3 integrins, respectively. These findings indicate a novel effect of LA as well as specific ROS, O2·- and H2O2 in integrin regulation, anoikis and chemotherapeutic sensitizations.


Link to article: DOI: 10.3892/ijo.2016.3624


Journal : International Journal of Oncology2016, 49(4)./ in Scopus


Bibliography     : Puchsaka, P.W.Chaotham, C., & Chanvorachote, P.(2016). α-Lipoic acid sensitizes lung cancer cells to chemotherapeutic agents and anoikis via integrin β1/β3 downregulation. International Journal of Oncology, 49(4), 1445–1456. DOI:10.3892/ijo.2016.3624

Quick View
วารสารกระแสวัฒนธรรม-มหาวิทยาลัยสยาม

กระแสวัฒนธรรม ปีที่ 17 ฉบับที่ 31 ม.ค.-มิ.ย. 2559

กองบรรณาธิการ


บทบรรณาธิการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลลดา มงคลวนิช


สารบัญ


บทความวิจัย
[mfn]รัชฎา จิรธรรมกุล. (2559). แนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมในชุมชนบ้านแขนน อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต. กระแสวัฒนธรรม, 17(31), 3-17.[/mfn]   แนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมในชุมชนบ้านแขนน อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต
รัชฎา จิรธรรมกุล


[mfn]รวิวรรณ วันวิชัย. (2559). การบริหารจัดการทางวัฒนธรรม กรณีศึกษางานศิลปะการแสดงพื้นบ้าน จังหวัดอุตรดิตถ์. กระแสวัฒนธรรม, 17(31), 18-30.[/mfn]   การบริหารจัดการทางวัฒนธรรม กรณีศึกษางานศิลปะการแสดงพื้นบ้าน จังหวัดอุตรดิตถ์
รวิวรรณ วันวิชัย


[mfn]วสันต์ กานต์วรรัตน์. (2559). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าที่ระลึกประเภทเครื่องปั้นดินเผา ของนักท่องเที่ยวในเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. กระแสวัฒนธรรม, 17(31), 31-40.[/mfn]   ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าที่ระลึกประเภทเครื่องปั้นดินเผา ของนักท่องเที่ยวในเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
วสันต์ กานต์วรรัตน์


[mfn]มธุรา สวนศรี. (2559). แนวทางการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อสะท้อนอัตลักษณ์ ตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ. กระแสวัฒนธรรม, 17(31), 41-55.[/mfn]   แนวทางการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อสะท้อนอัตลักษณ์ ตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ
มธุรา สวนศรี


บทความวิชาการ
1. ผ้าทอมือ : การอนุรักษ์และการพัฒนาลวดลายผ้ายกดอกของจังหวัดลำพูน
ทักษิณา พิพิธกุล


2. A Study of Porn Pirom’s Compositions and Thai Thao Composition Composed from Porn Pirom’s Melodies
มานพ วิสุทธิแพทย์ และเอื้อมพร รักษาวงศ์

Quick View
วารสารกระแสวัฒนธรรม-มหาวิทยาลัยสยาม

กระแสวัฒนธรรม ปีที่ 17 ฉบับที่ 32 ก.ค.-ธ.ค. 2559

กองบรรณาธิการ


บทบรรณาธิการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลลดา มงคลวนิช


สารบัญ


บทความวิจัย

1.  สำรับอาหารพื้นถิ่นเมืองพิษณุโลก
ผกาวดี ภู่จันทร์ และ โสรัจวรชุม อินเกต

2. ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการให้บริการนำเที่ยวเชิงพุทธในประเทศศรีลังกาของบริษัท ทัวร์เอื้องหลวง จำกัด
ณัฐนุช วณิชย์กุล และ ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ


3. การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ในชุมชนประเภทพิพิธภัณฑ์และวัด : กรณีศึกษาอำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
เพลินพิศ สมสกุล


4.  เพลงทับในรูปแบบการแสดงหนังตะลุง : กรณีศึกษานายทับในคณะของนายหนังตะลุงที่ได้เป็นศิลปินแห่งชาติ
ผกามาศ ชัยบุญ


5.  ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของลูกค้าร้านอาหารไทยในประเทศมาเลเซีย
ปาริชาติ เบ็ญฤทธิ์


บทความวิชาการ

  1.  ภูมิปัญญาและการสืบทอดผ้าไทยพวนบ้านใหม่ จังหวัดนครนายก
    อารีวรรณ หัสดิน

2.  การจัดกิจกรรมท่องเที่ยวค่ายพักแรมเพื่อเยาวชน   

กฤติกา สายณะรัตร์ชัย และ คมสิทธิ์ เกียนวัฒนา


3.    กระบวนการสร้างพื้นที่ทางสังคมของผีอีสาน    
ปิยลักษณ์ โพธิวรรณ์

 

Quick View

การก้าวสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยที่ยั่งยืนของมหาวิทยาลัยสยาม: นโยบายและแนวปฏิบัติ

 

Title              :  การก้าวสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยที่ยั่งยืนของมหาวิทยาลัยสยาม: นโยบายและแนวปฏิบัติ : Pathway towards Sustainable University: Policy and Practice of Siam University

Researcher       :  1.ศ.ดร.ชนิตา รักษ์พลเมือง, 2.อาจารย์สุวิจักขณ์ บุญมี, 3.อาจารย์นารี รมย์นุกูล และ 4.อาจารย์ประพันธ์ จันทร์เสมา

Department     :  1.ผู้ช่วยอธิการบดี และอาจารย์ประจำสาขาวิชาสันติภาพการศึกษาและการทูต บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสยาม 38 ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขต
ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160
2.ภาควิชาการจัดการทั่วไป คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม 38 ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160
3.ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม 38 ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160
4.ภาควิชาการจัดการทั่วไป คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม 38 ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160

E-mail                :  ผู้นำเสนอผลงาน praphan5@hotmail.com

บทคัดย่อ             :   ความยั่งยืน เป็นนโยบายหลักของมหาวิทยาลัยสยามโดยได้รับการบรรจุเป็นหนึ่งในสามเสาหลักของแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และมีการดำเนินโครงการทั้งในระดับท้องถิ่น และนานาชาติในด้านวิชาการได้มีการปรับปรุงรายวิชาการศึกษาทั่วัไปโดยเปิดรายวิชาที่จะพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจและมีความตระหนักถึงการพัฒนาที่ยั่งยืน ทั้งในด้านสิ่งแวดล้อม ความรับผิดชอบต่อสังคม และเศรษฐกิจโดยเฉพาะการเปิดรายวิชา 100-101 หลักเศรษฐศาสตร์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นรายวชิาหลักสำหรับนักศึกษา การเรียนการสอนในรายวิชานี้ไดรับการปรับปรุงเป็นระยะโดยปัจจุบันได้ใช้นวัตกรรมการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) และการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) โดยให้ผู้รียนทำโครงการที่จะเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน รอบมหาวิทยาลัยในเขตภาษีเจริญตามนโยบาย “Sustainable University, Sustainable District” ส่วนในด้านการวิจัยและบริการสังคมได้สนับสนุนโครงการที่ช่วยสร้างความยั่งยืนให้แก่ชุมชน อาทิการจัดตั้งศูนย์วิจัย เพื่อพัฒนาชุมชนที่มีความมุ่งหมายจะพัฒนาพื้นที่สุขภาวะเขตภาษีเจริญ และได้มีการสร้างภาคีเครือข่ายการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะที่ทำงานแบบบูรณาการทั้งภาครัฐ เอกชน ชุมชน ส่วนในระดับนานาชาติมหาวิทยาลยัสยามได้ร่วมกบั Asia e University เป็นผู้นำในการก่อตั้ง ACD University Network (ACD-UN) ซึ่งได้มีการตั้งเครือข่ายการวิจัยหรือ ACD Research Network โดยมีเครือข่ายการวิจัยหนึ่งคือ เครือข่ายการวิจัยด้านการพัฒนาที่ยั่งยืน/ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

คําสําคัญ             : มหาวิทยาลัยที่ยั่งยืน มหาวิทยาลัยสยาม นโยบายแนวปฏิบัติ


Bibliography     :    ชนิตา รักษ์พลเมือง, สุวิจักขณ์ บุญมี, นารี รมย์นุกูล และ ประพันธ์ จันทร์เสมา. (2559). การก้าวสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยที่ยั่งยืนของมหาวิทยาลัยสยาม: นโยบายและแนวปฏิบัติ. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายมหาวิทยาลัยยั่งยืนประเทศไทย  The1″ Annual Conference of Sustainabel University Network of Thailand “Sustainable Practice on higher Education Conference”. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.


Conference : การประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายมหาวิทยาลัยยั่งยืนประเทศไทย  The1″ Annual Conference of Sustainabel University Network of Thailand “Sustainable Practice on higher Education Conference” เมื่อวันที่ 28 และ 29 พฤศจิกายน 2559  ณ ห้อง 411 อาคารศูนย์การเรียนรู้มหิดล  มหาวิทยาลัยมหิดล 

Link to Conference:    http://www.sunthailand.org/news/new-sun-591128.html

Download PDF     :    การก้าวสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยที่ยั่งยืนของมหาวิทยาลัยสยาม: นโยบายและแนวปฏิบัติ


 

Quick View

การจัดการสภาพคล่องทางการเงินสำหรับ ผู้ประกอบการ SMEs ภายใต้วิกฤตเศรษฐกิจโลก (2559)

 

Title              : การจัดการสภาพคล่องทางการเงินสำหรับ ผู้ประกอบการ SMEs ภายใต้วิกฤตเศรษฐกิจโลก : Financial liquidity Management for SMEs Entrepreneurs in World Economic Crisis

Researcher       : สุรชัย ภัทรบรรเจิด 

Surachai Pattarabanjird 

Department      :  Faculty of Business Administration , Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                 :  spsmart99@hotmail.com

บทคัดย่อ              :   บทความนี้เขียนขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ประกอบการ SMEs ผู้ประกอบการขนาดใหญ่ สถาบันการเงินและหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันในการวางแผนและดำเนินการช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs ซึ่งเป็นกลไกสำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศทั้งในด้านการจ้างงาน การเชื่อมโยงการค้ากับผู้ประกอบการขนาดใหญ่ และการกระจายความเจริญไปยังส่วนภูมิภาคโดยได้กล่าวถึงแนวทางในการนำองค์ความรู้ในการบริการสภาพคล่องทางการเงินในด้านการบริหารเงินสดและการบริหารทุนหมุนเวียนไปปฏิบัติ นอกจากนี้ได้กำหนดข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการวางแผนช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป

วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นวิกฤติภาวะเงินฝืดของญี่ปุ่นซึ่งเกิดขึ้นมากว่า 20 ปี วิกฤติการณ์ทางการเงินในประเทศไทย ใน ปี พ.ศ. 2540 วิกฤตสินเชื่อซับไพรม์หรือวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์ ในปี พ.ศ.2551วิกฤติหนี้สาธารณะของกรีซ ในปี พ.ศ. 2554 วิกฤติเศรษฐกิจของตลาดหุ้นของจีน ในปี พ.ศ. 2557 และวิกฤติภาวะค่าเงินรูเบิลของรัสเซีย ในปี พ.ศ. 2557 วิกฤติการณ์เหล่านี้ล้วนส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อผู้ประกอบการไทย โดยเฉพาะผู้ประกอบการ SMEs โดยผลกระทบที่สำคัญ คือ ผลกระทบต่อการรักษาสภาพคล่องทางการเงิน อันเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ผู้ประกอบการ SMEs ต้องประสบปัญหาในการดำเนินกิจการและบางรายต้องเลิกกิจการไปในที่สุด

ดังนั้นการให้องค์ความรู้ในทางปฏิบัติได้จริงให้กับผู้ประกอบการ SMEs ในการจัดการสภาพคล่องจึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง ทั้งในด้านการบริหารเงินสดโดยการเร่งเงินสดรับเข้า ชะลอการจ่ายเงินสดและการดำรงรักษาเงินสดขั้นต่ำการบริหารทุนหมุนเวียนผ่านแนวนโยบาย 3 รูปแบบ คือ 1. นโยบายแบบสมดุล 2. นโยบายแบบระมัดระวัง และ 3. นโยบายแบบกล้าเสี่ยง ในขณะที่สถาบันการเงินและหน่วยงานภาครัฐโดยเฉพาะอย่างยิ่ง สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ จะต้องมีมาตรการและนโยบายในการช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs ผ่านทางนโยบายอัตราดอกเบี้ย นโยบายด้านภาษี และมาตรการในการสร้างความเข้มแข็งในระยะยาวอื่นๆ เช่น การสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการ SMEs การจัดหาแหล่งทุน การสร้างนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการ SMEs ผ่านการวิจัยและพัฒนา เป็นต้น แนวทางทั้งหมดที่กล่าวมาจะเป็นการส่งเสริมและสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการ SMEs ให้สามารถแข่งขันในตลาดโลกได้และนำไปสู่การสร้างความเข้มแข็งให้กับเศรษฐกิจของประเทศไทยในระยะยาวให้เติบโตอย่างมั่งคั่งและยั่งยืนต่อไป

คำสำคัญ              :  ผู้ประกอบการ SMEs, วิกฤติการณ์เศรษฐกิจโลก, การจัดการสภาพคล่อง, การบริหารเงินสด, การบริหารทุนหมุนเวียน

Abstract            :  The objective of this paper was to find a guideline for SMEs entrepreneurs, LEs entrepreneurs, financial institutions and related government sectors to help SMEs. SMEs are crucial mechanisms to develop Thais economy especially employment, trade networking with LEs entrepreneurs and spread prosperity to regional area. This paper acknowledged SMEs entrepreneurs about financial liquidity management especially on cash management and working capital management. Moreover, it also suggested policy planning for LEs entrepreneurs, Financial institutions and Government sectors in order to assist SMEs entrepreneurs.

World economic crises occurred several times such as the deflation crisis in Japan occurred for more than 20 years, Financial crisis in Thailand in 1997, and the sub-prime crisis in U.S.A in 2007, the public debt crisis in Greece in 2011, the capital market crash in China in 2014 and the Ruble crisis in Russia in 2014. These crises, therefore, have caused severe impacts to many Thai entrepreneurs, especially to SMEs. The major impact was the problem of financial liquidity that caused SMEs to shut down their businesses.

Hence, providing practical knowledge to SME entrepreneurs for managing their liquidity both cash management and working capital management was important. For cash management, this paper recommended to accelerate cash-inflow, decelerate cash-outflow and maintain minimum cash balance, and for working capital management, the paper suggested three policies; 1. Hedging, 2. Conservative, and 3. Aggressive. Simultaneously, the financial institutions and the government sectors must also offer entrepreneurs policies or measures of assistance through interest rate policy, tax policy, and long term strengthening measures namely; building SMEs networking, fund raising for SMEs, and innovation for SMEs by way of R&D policy. All of these policies and measures will promote and strengthen SMEs of Thai entrepreneurs to be able to compete in the world market, and drive Thai economy to grow securely and sustainably.

Keywords         :  SMEs entrepreneurs, world economic crises, financial liquidity, management, cash management, working capital management


Publication        : วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2559 MBA-KKU Journal Vol.9 No.1 Jan-Jun 2016

Link to Publication:   https://www.tci-thaijo.org/index.php/mbakkujournal/issue/view/5998


Bibliography     :  สุรชัย ภัทรบรรเจิด. (2559). การจัดการสภาพคล่องทางการเงินสำหรับ ผู้ประกอบการ SMEs ภายใต้วิกฤตเศรษฐกิจโลก. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น,  9(1), 281-303. 


Quick View

การดูแลแบบองค์รวมในการฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (2559)

 

ชื่อบทความ     :  การดูแลแบบองค์รวมในการฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง : Achieving a Holistic Approach in Stroke Rehabilitation

เจ้าของผลงาน       :  วัฒนีย์ ปานจินดา และ พุทธวรรณ ชูเชิด

หน่วยงาน               :  อาจารย์ประจำ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

E-mail                   :  wattaneedavis@hotmail.com

บทคัดย่อ                :  การศึกษาเชิงคุณภาพนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแบบองค์รวมและศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการฟื้นฟูสภาพด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านจิตวิญญาณ เก็บข้อมูลด้วยการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์เจาะลึก กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มารับการฟื้นฟูสภาพ ณ ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพอัมพฤกษ์-อัมพาต และปฏิบัติธรรมวัดทุ่งบ่อแป้น ซึ่งนอนพักที่วัด มีญาติให้การดูแล และยินดีเข้าร่วมการวิจัย จ านวน 10 ราย ระหว่างเดือนเมษายน-พฤษภาคม พ.ศ. 2557 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content analysis) ผลการวิจัยพบว่า วิธีการดูแลแบบองค์รวมจากกิจกรรมที่ศูนย์ฯ ดำเนินการมีลำดับการให้ผลต่อความก้าวหน้าในการฟื้นฟูสภาพ ดังนี้คือ การฟื้นฟูสภาพตามแนวแพทย์แผนปัจจุบัน การดูแลของบุคคลในครอบครัวหรือญาติ การเยี่ยมตรวจรายวันของพยาบาล การฟื้นฟูสภาพด้านภูมิปัญญาไทย บรรยากาศและสภาพแวดล้อม โดยผู้ป่วยรับรู้ต่อวิธีการดูแลแบบองค์รวมว่า การทำกายภาพบำบัดช่วยให้สภาพร่างกายมีการทรงตัวและเคลื่อนไหวดีขึ้น การตรวจเยี่ยมรายวันของพยาบาล ช่วยเสริมสร้างพลังอำนาจแก่ผู้ป่วยและญาติในการดูแลตนเองและการประเมินความก้าวหน้าของการฟื้นฟูสภาพ การแช่น้้ำสมุนไพรอุ่นๆ และการนวดประคบ ช่วยให้กล้ามเนื้อคลายตัวและกระตุ้นการไหลเวียนเลือด การเดินบ่อเลนช่วยเพิ่มกำลังขา การเปลี่ยนแปลงทั้งทางร่างกายและจิตใจเริ่มเห็นผลหลังจากผู้ป่วยเข้ามาบำบัดฟื้นฟูที่ศูนย์เป็นระยะเวลา 1 เดือนขึ้นไป ทั้งด้านการสื่อสาร การช่วยเหลือตนเอง การได้สวดมนต์ และปฏิบัติธรรมประกอบกับบรรยากาศที่เป็นธรรมชาติช่วยให้จิตที่ยังดิ้นรนระส่ำระสาย ลดการปรุงแต่ง สงบและเข้มแข็งมากขึ้น ปัจจัยที่ส่งผลต่อการฟื้นฟูสภาพพบว่า เพศชายมีการฟื้นฟูสภาพทางกล้ามเนื้อดีกว่าเพศหญิง แต่เพศหญิงมีพฤติกรรมในการปรับตัวต่อการเจ็บป่วยดีกว่าเพศชาย ด้านอายุพบว่า อายุที่เพิ่มขึ้นเป็นข้อจำกัดในการฟื้นตัวของระบบประสาท เนื่องจากการงอกของเซลล์ประสาทที่ดีเพื่อทดแทนส่วนที่บาดเจ็บและการเชื่อมต่อลดน้อยลง ผู้มีสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัวช่วยให้ผู้ป่วยมีกำลังใจที่จะต่อสู้กับอุปสรรคมากขึ้น ด้านระดับการศึกษาพบว่า ผู้มีระดับการศึกษาสูงจะมีการแสดงออกถึงการใช้เหตุผลเพื่อยอมรับการเจ็บป่วยมากกว่า ด้านรายได้ครอบครัวพบว่า ความพร้อมทางการเงินทำให้ผู้ป่วยลดความวิตกกังวลต่อการจะถูกครอบครัวทอดทิ้ง และมีพฤติกรรมการปรับตัวที่เหมาะสมมากขึ้น

คำสำคัญ                :  การฟื้นฟูสภาพโรคหลอดเลือดสมอง การดูแลแบบองค์รวม

Abstract              :  This qualitative study aimed to study the holistic approach and the factors of stroke rehabilitation that affecting the development in physical, mind, environment and soul of the stroke patient. The data was collected during April and May 2014 in observation and interview with ten stroke patients who were willing and accepted this inspection. All patients with caring of their family members, they stayed over and taking treatment at Wat Thungbopean. The data analyze is using the content analysis as the domain. The result found that activities organized by the Centre improves stroke patients from five different factor: improving according to the modern medication, nurture by family members and relative, daily visiting by the nurse, Thai traditional treatment and atmosphere and environment.Physiotherapy respond in improving balance and movement of the body. A daily visiting by the nurse empower the patient’s spirit as well as patients’ relative in self-help and analyze the progress of treatment. The herbs which applied along with massaging in Thai-traditional manner as well as body-soaking in warm-water relax, release and active the muscles and blood-circulation. Practice of walking in muddy field helps in stimulating the energy and action of legs. The better changes in body and mind can be noticed in patients who are taking treatment more than a month at the Centre. Communication skill, self-help, praying and meditation in a good and natural environment help to find the peace of mind. The results of the treatment found: muscle development in male-gender is more effective than the female-gender, but the reaction of behavior-adaption is more improved in female- gender. The age factor is one of domain in development of nervous system, as the young-age patient; dendrite can grow and develop better than the aged patient. A good and cheerful spirit of the patients made and encouraged by the support and relationship of their family members. The literacy patients cantake more reasons to support themselves, as well as a well financial support from family builds a confidence to successful treatment.

Keywords           : Holistic approach, Stroke rehabilitation

Donwload PDF : การดูแลแบบองค์รวมในการฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง


Publication        : วารสารวิชาการ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2559  APHEIT JOURNAL SCIENCE TECHNOLOGY Vol.5 No.2  Jul-Dec 2016

Link to Publication:    http://apheit.bu.ac.th/index.php?id=159

Bibliography    :  วัฒนีย์ ปานจินดา และ พุทธวรรณ ชูเชิด. (2559). การดูแลแบบองค์รวมในการฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง. วารสารวิชาการ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 5(2), 70-78.


Quick View

การถ่ายทอดเทคโนโลยีประยุกต์ใช้นํ้ายางพาราในงานบำรุงรักษาระบบชลประทาน

 

ชื่อบทความวิจัย     :  การถ่ายทอดเทคโนโลยีประยุกต์ใช้นํ้ายางพาราในงานบำรุงรักษาระบบชลประทาน: Technology Transfer Using Rubber Latex Application in Irrigation System Maintenance

เจ้าของผลงาน       :  ผศ.ดร.พีรวัฒน์ ปลาเงิน       
เจ้าของผลงานร่วม: ดร.ฐกลพัศ เจนจิวัฒนกุล, นายสมพร พิบูลย์, นายธนิต บุญพันธ์
หน่วยงาน               :  ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

คำอธิบาย               :  การถ่ายทอดเทคโนโลยีประยุกต์ใช้น้ำยางพาราในงานบำรุงรักษาระบบชลประทาน มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้น้ำยางพาราในงานซ่อมแซมคลองชลประทานให้กับผู้เข้าร่วมถ่ายทอดเทคโนโลยีและเป็นการเผยแพร่ผลงานวิจัยและนวัตกรรมสู่กลุ่มเป้าหมายที่มีศักยภาพในการนำไปใช้ประโยชน์ ณ โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ยม และเกษตรกร หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 9 ตำบลปงป่าหวาย อำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่

คำสำคัญ                :   ยางพาราในงานบำรุงรักษาระบบชลประทาน, ยางพารา


Publication: วารสารวิชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ปีที่ 14 2559 CRMA Journal Vol. 14 2016

Link to Publication:  http://veel.crma.ac.th/Journal/PArticle/ShowPArticleTable.aspx?YearBuddFrom=ii4hQf2nUAs%3d

Bibliography  :  พีรวัฒน์ ปลาเงิน, ฐกลพัศ เจนจิวัฒนกุล, สมพร พิบูลย์ และ ธนิต บุญพันธ์. (2559). การถ่ายทอดเทคโนโลยีประยุกต์ใช้นํ้ายางพาราในงานบำรุงรักษาระบบชลประทาน. วารสารวิชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, 14, 117-129.


Quick View

การทำนายจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย โดยใช้การวิเคราะห์อนุกรมเวลา ด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล (2559)

 

Title              : การทำนายจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย โดยใช้การวิเคราะห์อนุกรมเวลา ด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล

Researcher       :  Pitchayakorn Lake พิชญากร เลค
Department     :  Faculty of Information Technology, Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                :  pitchayakorn@siam.edu

Abstract            : This research aim to develop the model of forecasting the number of International Tourists arrival to Thailand. They can expand economic of Thailand. The research provide 3 techniques, which
techniques are suited to the forecasting model i.e. Linear Regression, Multi-Layer Perceptron and Support Vector Machine for Regression. The study data was the number of the International Tourists arrival from 2007 to 2015, which they were on the amount of 108 months.
The experimental results show that the forecasting trends the number of ASEAN travelers to visit Thailand i.e. China, Malaysia, Japan and Korea. The forecasting model achieves the highest accuracy rate as follows, 1) the support vector machine for regression forecasting was the most achievable for China, Malaysia and Korea, which the highest accuracy rate were 12.07%, 8.41% and 14.29% of MMRE, respectively. 2) the linear regression forecasting was the most achievable for Japan, which the highest accuracy rate was 8.17% of MMRE.

Keywords         :  Forecasting, Number of International Tourist Arrival to Thailand, Time Series Analysis, Data
Mining Techniques


Proceeding       :  การวิจัยเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน Proceedings KU SCR 1st National Conference 2559: การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ประจำปี 2559                         

Link to Proceeding: http://www.src.ku.ac.th/conference/

Bibliography    : พิชญากร เลค. (2559). การทำนายจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย โดยใช้การวิเคราะห์อนุกรมเวลา ด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล. ใน รายงานการประชุม การวิจัยเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน Proceedings KU SCR 1st National Conference 2559: การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ประจำปี 2559 (หน้า 453-463). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.


Quick View

การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการเป็นผู้สูงอายุที่ยังคุณประโยชน์

[mfn]เรวดี จันทเปรมจิตต์, ชนิตา รักษ์พลเมือง และ วิพรรณ ประจวบเหมาะ. (2559). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการเป็นผู้สูงอายุที่ยังคุณประโยชน์. วารสารครุศาสตร์, 44(3), 160-175[/mfn]   การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการเป็นผู้สูงอายุที่ยังคุณประโยชน์ 

เรวดี จันทเปรมจิตต์, ชนิตา รักษ์พลเมือง และ วิพรรณ ประจวบเหมาะ


 

 Professor Emeritus Dr.Chanita Rukspollmuang

Quick View