Thailand’s dual education system: A way forward (2017)

 

Title              :  Thailand’s dual education system: A way forward

Researcher       :  รศ.ดร. จอมพงศ์ มงคลวนิช Jomphong Mongkhonvanit
Department      :  รองศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชาการบริหารหารศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพมหานคร 10160

E-mail                 :

ฐานข้อมูลงานวิจัย มหาวิทยาลัยสยาม            :  –

Link to article:  Higher Education, Skills and Work-based Learning, 2017, 7(2), pp. 155–167. https://doi.org/10.1108/HESWBL-09-2016-0067

Publication: Higher Education, Skills and Work-based Learning / in Scopus

Bibliography     : Mongkhonvanit, J. (2017), “Thailand’s dual education system: a way forward”, Higher Education, Skills and Work-Based Learning, 7(2), 155-167. https://doi.org/10.1108/HESWBL-09-2016-0067


Quick View

The Application of Ethnographic Techniques for Community-Based Tourism Research

 

Title              : The Application of Ethnographic Techniques for Community-Based Tourism Research

Researcher       : Nantira Pookhao and Yuvarin Sripan

Department     :  Faculty of Liberal Arts , Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                : nantira.sand.pookhao@gmail.com

Abstract            :  Tourism generates massive income for Thailand. Using tourism as an economic goal has both positive and negative impacts on local community located in or near tourism destination. To mitigate negative impacts of tourism, local people should participate in its planning, management and operation. Participation of local people in the process of tourism development is to promote the community-based tourism (CBT) initiation. CBT is expected to lead to the balance of ecological conservation and development by concentrating on the quality of life of the local people. It is a new tourism phenomenon in Thai rural society that endeavours for community self reliant practice. Operating CBT, community members are associated with and cannot be separated from the tourism activities and touristic process, as active rather than passive actors. Given that tourism activities are hardly distinguished from their local way of life and CBT is associated with participation towards empowerment and local sociocultural realm, ethnographic technique is a considerable choice to conduct a CBT research. It enables indepth and holistic view in relation to the impact of power and the processes of globalization on local socioculture and the findings can be used for further tourism development towards sustainability.

Keywords         :  Community-based tourism, local participation, research method, ethnography, Thailand

Download PDF:  The Application of Ethnographic Techniques for Community-Based Tourism Research


Proceeding       :  การประชุมวิชาการระดับชาติ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ประจำปี 2560 วันที่ 25 พฤษภาคม 2560 มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต APHEIT Conference 2017                               

Link to Proceeding:    http://apheitconference.siam.edu/index.php/en/proceedings-2012-2016


Bibliography    :  Nantira Pookhao & Yuvarin Sripan. (2560). The application of ethnographic techniques for community-based tourism research. In Proceedings of  PHEIT Conference 2017 (pp. 1036-1046). Bangkok, Thailand. 


Quick View

Utilization of MLP and Linear Regression Methods to Build a Reliable Energy Baseline for Self-benchmarking Evaluation (2017)

Title              : Utilization of MLP and Linear Regression Methods to Build a Reliable Energy Baseline for Self-benchmarking Evaluation

Researcher       : Tomorn Sunthornnapha

Department     : Department of Electrical Engineering, Siam University
E-mail                :  tomo.soo@siam.edu

Abstract            :  This paper presents a reliable energy baseline model for self-benchmarking evaluation of energy saving potential by using multilayer perceptron (MLP) method. The measured energy data and product quantities of the sample plant in daily period dating back since 2011 to 2016 are used as variables and then normalized to represent the energy baseline (EnB) of the manufacturing plant. A comparison of MLP and linear regression (LR) methods for creating the baseline model is investigated during the factory expansion capacity. For LR method, we use the ASHRAE Guideline 14-2002 as a reference in recommended values for modeling uncertainty. As the uncertainty problem, the LR method is more sensitivity to the outliners, because the nature of plant variables has more complexity and nonlinearity. So we introduce the MLP method to solve or reduce the effect of nonlinearity by supervised learning in the short-term and long-term period of the production. For simulation results, in short-term period the LR method demonstrates some better results of uncertainty parameters. However, the proposed MLP with LR method can build a
reliable baseline showing in better R-square values than LR method. This is useful for energy evaluation when the plant is expanding capacity to protect misleading interpretation occurring during the year. For long-term period, the MLP method can overcome the LR method in all uncertainty parameters. Therefore, the MLP method may be able to the alternative choice for creating the EnB in nonlinearity circumstances of the plants for short-term and long-term period. 

Keywords         : energy conservation; uncertainty; energy baseline; multilayer perceptron; linear regression

Download PDF:  Utilization of MLP and Linear Regression Methods to Build a Reliable Energy Baseline for Self-benchmarking Evaluation


Link to Conference:   2017 4th International Conference on Power and Energy Systems Engineering, CPESE 2017, 25-29 September 2017, Berlin, Germany 


Bibliography    :  Sunthornnapha, T. (2017). Utilization of MLP and Linear Regression Methods to Build a Reliable Energy Baseline for Self-benchmarking Evaluation. In 2017 4th International Conference on Power and Energy Systems Engineering, CPESE 2017, 25-29 September 2017. BerlinGermany.


Quick View
วารสารกระแสวัฒนธรรม-มหาวิทยาลัยสยาม-ปีที่18-ฉบับที่33-มค-มิย2560

กระแสวัฒนธรรม ปีที่ 18 ฉบับที่ 33 ม.ค.-มิ.ย. 2560

กองบรรณาธิการ


บทบรรณาธิการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลลดา มงคลวนิช


สารบัญ


บทความวิจัย

1. การศึกษาศักยภาพอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของรัฐเกรละ ประเทศอินเดีย
คมสิทธิ์  เกียนวัฒนา  และสุจิตรา  สุคนธทรัพย์


2. ภาพถ่ายความงามของศิลปวัฒนธรรมวิถีชาวไทยพุทธ ตำบลปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์
จิรทัศน์ ดาวสมบูรณ์ และเพ็ญนภา มณีอุด


3. รูปแบบการจัดการสื่อสารพิพิธภัณฑ์อุทยานการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร ที่มีผลต่อ ความสำเร็จของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
กิตพล เชิดชูกิจกุล


4. แนวทางการพัฒนาส่วนประสมทางการตลาดของที่ระลึกสำหรับ นักท่องเที่ยวชาวยุโรปและเอเชียในกรุงเทพมหานคร
กฤติกา สายณะรัตร์ชัย


5. การทวงถามในภาษาไทย : การศึกษากลวิธีทางภาษาและข้อคำนึงที่เป็นเหตุจูงใจ
สิทธิธรรม อ่องวุฒิวัฒน์


6. Thatsana Nataya Chatri Dance : A Creative Conservation Process of Performing Arts for Competition

Dusittorn Ngamying


บทความวิชาการ

1. พวงหรีด : วัฒนธรรมตะวันตกที่งอกงามในประเพณีไทย
รุจิราภา งามสระคู


2. จันทบุรี : เมืองท่าชายฝั่งทะเลตะวันออกบนเส้นทางอารยธรรมเขมรกับสยามประเทศไทย
กำพล จำปาพันธ์


3. อัตลักษณ์ในเอกลักษณ์ : พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่น
นงลักษณ์ ลิ้มศิริ

 

Quick View
วารสารกระแสวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่18 ฉบับที่34 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 ISSN 1513-4458

กระแสวัฒนธรรม ปีที่ 18 ฉบับที่ 34 ก.ค.-ธ.ค. 2560

บทบรรณาธิการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลลดา มงคลวนิช


หน้าสารบัญ


บทความวิจัย

  1. การสร้างความเข้มแข็งของทุนมนุษย์ในการจัดการการท่องเที่ยว โดยชุมชนของชาวอีสานล้านนา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
    ภัทรภร จิรมหาโภคา


  2. การรับรู้ของเยาวชนไทยต่อภาพลักษณ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
    คมสิทธิ์ เกียนวัฒนา และคณะ


  3. การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์หัตกรรมเครื่องรักเครื่องเขินไทย – เวียดนาม
    รพีพัฒน์ มั่นพรม


  4. การศึกษาสภาพวัฒนธรรมมอญกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของกลุ่มมอญ ในอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี เพื่อการจัดการการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน
    อัญชัญ ตัณฑเทศ และคณะ


  5. การประพันธ์ทำนองเพลงผ้าล้วง
    อังคณา ใจเหิม


  6. งานดนตรีไทยสากลของครูมงคล อมาตยกุล : ลักษณะเด่นในอุปนิสัย ความรอบรู้ ความสำเร็จในการสร้างวงดนตรีและนักร้องเพลงลูกทุ่ง
    กฤตวิทย์ ภูมิถาวร

 

บทความวิชาการ

  1. บทความปริทรรศน์ : การสืบทอดสื่อพื้นบ้าน หมอลำเรื่องต่อกลอน
    สันดุสิทธิ์ บริวงษ์ตระกูล

 

Quick View

การประยุกต์ใช้ปืนแม่เหล็กไฟฟ้าเพื่อทดสอบเรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์

 

Title              :  การประยุกต์ใช้ปืนแม่เหล็กไฟฟ้าเพื่อทดสอบเรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ : Application of the Electromagnetic Gun for Projectile Motion Testing

Researcher       :  คณิต ทองพิสิฐสมบัติ และ พุทธธิดา ชัยสวัสดิ์
Kanit Thongpisisombat and Phuttatida Chaisawas

Department     :  ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

E-mail                : phuttatida.cha@siam.edu

บทคัดย่อ             :   งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อออกแบบและสร้างปืนแม่เหล็กไฟฟ้า สําหรับใช้ในการทดลอง เรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ที่มีความแม่นยําในการวัดที่สูงขึ้น โดยโครงสร้างของปืนแม่เหล็กไฟฟ้าทำจากท่ออลูมิเนียมท่ออลูมิเนียมยาว 56 cm มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอกและภายใน 8 mm และ 6 mm ตามลําดับ พันด้วยสายไฟ AWG เบอร์ 20 เป็นขดลวดโซลินอยด์จํานวน 3 ชั้น (ชั้นละ 33 รอบ) ตัวโพรเจกไทล์ เป็นวัสดุเฟอร์โรแมกเนต คือ ดอกสว่างทําเกลียวเบอร์ 3 ขนาด 3 g โดยใช้แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงขนาด 50 V ให้กับตัวเก็บประจุ 3 x 10μF โดยใช้ตัวเรียงกระแสชนิดควบคุมด้วยซิลิคอน (SCR) เป็นอุปกรณ์สวิทซ์ควบคุมกระแสภายในขดลวดโซลินอยด์ เพื่อเปลี่ยนพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นพลังงานจลน์ของโพรเจกไทล์ โดยความเร็วของโพรเจกไทล์คํานวณได้จากความชันของกราฟความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งการกระจัดในแนวราบและแนวดิ่ง (x,y) และใช้เวลาจากเครื่องจับเวลาโฟโต้เกตระบบดิจิตอล (digital photogate timer) เท่ากับ 3.113 m/s และ 3.571 m/s ตามลําดับ เมื่อคํานวณหาเปอร์เซ็นต์ความแตกต่างของทั้งสองวิธีมีค่า 13.67%

คําสําคัญ             :  การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ ปืนแม่เหล็กไฟฟ้า

Abstract            :  The designed and experiment setup of the electromagnetic gun were to improve measurement accuracy in projectile motion. The magnetic gun made from an aluminum tube is 56 cm long, 8 mm and 6 mm for outer and inner diameter respectively. The end of a tube was bound by AWG cable made for 3 layers (33 rounds/layer) as a solenoid. For the projectile mass testing is a ferromagnetic material screw nail in which a 3 g weight and 5 cm long. The DC power supply with 50 volt charged to the 3 x 10μF capacitor and Silicon Control Rectifier (SCR) is a current controller in solenoid by charging by the electromagnetic into kinetic energy for the projectile. The velocity of projectile was calculated from the slope of x,y positions plot and using a digital photogate timer. The results showed that both methods were 3.113 m/s and 3.571 m/s which corresponds to the percentage difference is 13.67%.

Keywords        :    projectile motion, electromagnetic gun


Proceeding       : รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5  The 5th Academic Science and Technology Conference 2017 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0” (Science and Technology as a Key Driver towards Thailand 4.0) วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม 2560  ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร ผู้จัดหลัก: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

Link to Proceeding:    https://www.astcconference.com/page/proceedings#astc-content

Bibliography     :    คณิต ทองพิสิฐสมบัติ และ พุทธธิดา ชัยสวัสดิ์. (2560). การประยุกต์ใช้ปืนแม่เหล็กไฟฟ้าเพื่อทดสอบเรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0” (หน้า 582-586). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.


Quick View

การพัฒนาระบบประเมินการสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยสยามผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

 

Title              :  การพัฒนาระบบประเมินการสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยสยามผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต : Development of Teaching Evaluation System of Siam University via Internet Network

Researcher       :  จักรพันธุ์ รักธรรมนูญ Raktamnoon J.

Department     :  สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม

E-mail                :  jackrapan02@gmail.com

บทคัดย่อ             :   การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบประเมินการสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยสยามที่ทํางานผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแบบเรียลไทม์สําหรับเป็นเครื่องมือในการประเมินและปรับปรุงประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์แทนระบบเดิมที่มีความล่าช้า ไม่สามารถให้สารสนเทศตามที่ผู้ใช้ต้องการได้ โดยพัฒนาเป็นเว็บแอปพลิเคชั่น แบ่งการทํางานออกเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 สําหรับผู้ดูแลระบบในการสร้างแบบสอบถามที่ใช้ในการประเมินการสอน ส่วนที่2 สําหรับนักศึกษาในการทําการประเมินอาจารย์ผู้สอนผ่านหน้าเว็บไซต์ และส่วนที่3 สําหรับอธิการบดี คณบดี หัวหน้าภาค และอาจารย์ ในการเข้าถึง ผลการประเมินการสอนผ่านหน้าเว็บไซต์โดยแสดงผลได้ทั้งรูปแบบของตารางและกราฟเปรียบเทียบตามประเภทรายวิชาและระดับความยากง่าย ภาษาที่ใช้ในการพัณนา ได้แก่ ภาษา PHP, JavaScript, HTML5, CSS จัดเก็บข้อมูลลงฐานข้อมูล MySQL และบริหารจัดการข้อมูลด้วยภาษา SQL สร้างกราฟด้วย HighCharts API ผลการดําเนินงานเมื่อทําการติดตั้งและทดลองใช้งานจริง พบว่า ระบบสามารถทํางานได้ตามฟังก์ชันการทํางานที่กําหนดไว้ สามารถแสดงผลการประเมินการสอนได้ถูกต้องทั้งในรูปแบบของตารางและกราฟ และจากการประเมินประสิทธิภาพของระบบในด้านต่าง ๆ โดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มผู้ใช้ที่เป็นนักศึกษาและอาจารย์จํานวน 20 คนด้วยแบบสอบถามประเมินประสิทธิภาพของระบบในส่วนของแบบสอบถามประเมินการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และประสิทธิภาพของระบบในส่วนการแสดงผลการประเมินการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งมีระดับความพีงพอใจอยู่ในระดับดี ทั้ง 2 ส่วน ได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.14 และ 4.02 ตามลําดับกล่าวได้ว่าระบบที่พัฒนานี้สามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้เป็นอย่างดีสามารถให้สารสนเทศตามที่ผู้ใช้ต้องการได้

คําสําคัญ             :   ประเมินการสอนออนไลน์, มหาวิทยาลัยสยาม

Abstract            :  This research is the development of a Teaching Evaluation System of Siam University via Internet Network. This is a tool for assessing and improving the teacher’s teaching effectiveness to replace the old system with the delay and cannot provide the information for user needs. It has been developed as a web application consists of three parts: Part one for the administrator to create and manage the questionnaire used in the assessment, Part two for students to assess the teacher and Part three for president, dean, director and teacher for accessing the teaching evaluation results displayed in forms of table and graph comparison by subject type and difficulty level. The system has been developed by PHP, JavaScript, HTML5, CSS, and SQL as programming, use MySQL as a database management system and create graphs by HighCharts API. After installation and trail run, the result is the system can operate by defining functionality and can display accurate assessment results. In the evaluation process, the questionnaire is applied to 20 subjects. The results show that the level of satisfaction of the users is good. The systemdeveloped can be applied to the organization and can provide the information that the user needs.

Keywords        :    online teaching evaluation, Siam University


Proceeding       : รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5  The 5th Academic Science and Technology Conference 2017 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0” (Science and Technology as a Key Driver towards Thailand 4.0) วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม 2560  ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร ผู้จัดหลัก: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

Link to Proceeding:    https://www.astcconference.com/page/proceedings#astc-content

Bibliography     :    จักรพันธุ์ รักธรรมนูญ. (2560). การพัฒนาระบบประเมินการสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยสยามผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0” (หน้า 1317-1326). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.


Quick View

การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของเด็กมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้

[mfn]มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮ์, ชนิตา รักษ์พลเมือง และ พรรณี บุญประกอบ. (2560). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของเด็กมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 9(1), 81-96.[/mfn]   การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของเด็กมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮ์, ชนิตา รักษ์พลเมือง และ พรรณี บุญประกอบ



Professor Emeritus Dr.Chanita Rukspollmuang

Quick View

การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดและการเรียนรู้ของเด็กมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้

[mfn]มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮ์, ชนิตา รักษ์พลเมือง และ พรรณี บุญประกอบ. (2560). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดและการเรียนรู้ของเด็กมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี, 7(13), 45-58.[/mfn]   การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดและการเรียนรู้ของเด็กมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮ์, ชนิตา รักษ์พลเมือง และ พรรณี บุญประกอบ



Professor Emeritus Dr.Chanita Rukspollmuang

Quick View