ระบบค้นหาคําศัพท์ภาษามือบนแพลทฟอร์มแอนดรอยด์
Title : ระบบค้นหาคําศัพท์ภาษามือบนแพลทฟอร์มแอนดรอยด์ : Basic Sign Language Search System on Android Platform
Researcher : เอก บํารุงศรี และ สุรเชษฐ์ แซ่ลี้
Bamrungsi E. and Saelee S.
Department : ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
E-mail : eak.bam@siam.edu
บทคัดย่อ : งานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาแอพพลิเคชั่นระบบค้นหาคําศัพท์ภาษามือบนแพลทฟอร์มแอนดรอยด์สําหรับผู้บกพร่องทางการได้ยินและบุคคลปกติทั่วไปนําไปใช้ได้ทุกที่ทุกเวลาที่มีความจําเป็นในการสื่อสารกับผู้บกพร่องทางการได้ยิน ระบบสามารถค้นหาศัพท์ภาษามือพื้นฐานทั้งภาษามือไทยและภาษามืออังกฤษ โดยแสดงผลการค้นหาเป็นรูปภาพและคําอธิบายการแสดงภาษามือส่วนประกอบของระบบมี 3 ส่วนคือ (1) ระบบค้นหาคําศัพท์ภาษามือโดยวิธีการใช้คําค้น (search) (2) ระบบค้นหาคําศัพท์ภาษามือโดยวิธีการค้นหาตามหมวดหมู่ตัวอักษร (3) ระบบสําหรับติดต่อผู้พัฒนาระบบ ระบบพัฒนาโดยใช้ภาษาจาวาในการเขียนชุดคําสั่ง และใช้ Eclipse ที่มี Plug in Android SDK เป็นเครื่องมือพัฒนา ระบบช่วยให้การสื่อสารกับผู้บกพร่องทางการได้ยินทําได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น ส่งผลให้ผู็บกพร่องทางการได้ยินได้รับความช่วยเหลือจากบุคคลปกติทั่วไปได้รวดเร็วและถูกต้องมากขึ้น
คําสําคัญ : ภาษามือ ระบบค้นหา แอนดรอยด์
Abstract : This research is the development ofBasic Sign LanguageSearch system on Android Platform.Everyone is available anytime, anywhere to communicate with hearing impaired.The system can search Basic Thai andEnglish Sign Language.The system displays images and descriptions of gestures.The system consists of Word search system,Search by categoryand Contact developer system.Developers using Java and Eclipse with Android SDK as development tools.The system enables communication with the hearing impaired convenient and faster. As a result, hearing impaired people receive faster and more accurate help.
Keywords : Basic Sign Language, Search system, Android
Proceeding : รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 The 5th Academic Science and Technology Conference 2017 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0” (Science and Technology as a Key Driver towards Thailand 4.0) วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร ผู้จัดหลัก: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
Link to Proceeding: https://www.astcconference.com/page/proceedings#astc-content
Bibliography : เอก บํารุงศรี และ สุรเชษฐ์ แซ่ลี้. (2560). ระบบค้นหาคําศัพท์ภาษามือบนแพลทฟอร์มแอนดรอยด์. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0” (หน้า 1382-1391). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.
ระบบจัดการลางานออนไลน์: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยสยาม
Title : ระบบจัดการลางานออนไลน์: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยสยาม : Online Leave Management System: A Case Study of Siam University
Researcher : ธนาภรณ์ รอดชีวิต และ สุจารี แย้มจินดา
Rodcheewit T. and Yamjinda S.
Department : ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
E-mail : thanaporn.rod@siam.edu
บทคัดย่อ : งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบจัดการลางานออนไลน์ซึ่งจะช่วยอํานวยความสะดวกให้กับบุคลากรที่มีความประสงค์จะทําการลางานซึ่งบุคลากรสามารถบันทึกใบลาผ่านระบบได้ ผู้บังคับบัญชาสามารถทําการอนุมัติ และใบลาถูกส่งไปยังฝ่ายบุคคลได้ทันทีแบบอัตโนมัติ รวมถึงสามารถออกรายงานตามความต้องการได้ ซึ่งช่วยลดระยะเวลาในการขออนุมัติ ผู้ใช้ยังสามารถเข้าถึงข้อมูลรายละเอียดในการลางานของตนเองได้สะดวกมากขึ้นและช่วยลดปริมาณการใช้กระดาษให้น้อยลงอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเทคโนโลยีและเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบจัดการลางานออนไลน์ ที่ทํางานผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเว็บแอปพลิเคชั่นและฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ในการพัฒนาโปรแกรมและจัดเก็บข้อมูลพัฒนาโดยเขียนชุดคําสั่งด้วยภาษา PHP, HTML และ JavaScript จัดการฐานข้อมูลด้วย MySQL รวมถึงติดตั้งเครื่องแม่ข่ายเว็บ (Web Server) ด้วย XAMPP
คําสําคัญ : ระบบจัดการลางานออนไลน์ การลางาน มหาวิทยาลัยสยาม
Abstract : The objective of this research is to develop the leave management system on an online platform in order to facilitate personnel who would like to request for a leave of absence.The Online Leave Management System enables personnel to record their absences in the corresponding form via the system. In addition, the supervisor can approve the absence request and immediately submit the leave letter to Human Resources Department on an automatic basis. Likewise, the report can be issued whenever needed, which consequently reduces the approval time.The system provides users with a convenient and easy access to the information regarding their absences, as well as an effective way of reducing paper consumption. The technology and tools that are used in the development of OnlineLeave Management Systemthat operates through an internet network include web application technologies and relational databases. The applications and data storagesare developed by programming commands inPHP, HTML, andJavaScript. The database is managed by MySQLand the web server is installed usingXAMPP.
Keywords : Online Leave Management System,Absence, Siam University
Proceeding : รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 The 5th Academic Science and Technology Conference 2017 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0” (Science and Technology as a Key Driver towards Thailand 4.0) วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร ผู้จัดหลัก: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
Link to Proceeding: https://www.astcconference.com/page/proceedings#astc-content
Bibliography : ธนาภรณ์ รอดชีวิต และ สุจารี แย้มจินดา. (2560). ระบบจัดการลางานออนไลน์: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยสยาม. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0” (หน้า 1359-1366). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.
ระบบบันไดกําลังไฟฟ้าต่อหน่วยสําหรับการอนุรักษ์พลังงานเครื่องสูบน้ำแบบปรับความเร็วรอบได้ โดยการบูรณาการกฎความสัมพันธ์เข้ากับระเบียบวิธีกําลังสองน้อยที่สุด (2560)
Title : ระบบบันไดกําลังไฟฟ้าต่อหน่วยสําหรับการอนุรักษ์พลังงานเครื่องสูบน้ำแบบปรับความเร็วรอบได้ โดยการบูรณาการกฎความสัมพันธ์เข้ากับระเบียบวิธีกําลังสองน้อยที่สุด : Per-Unit Power Ladder System for Energy Conservation of Variable Speed Pumps by Integrating Affinity Law with Least Square Method
Researcher : โตมร สุนทรนภา
Department : ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
E-mail : tomo.soo@siam.edu
บทคัดย่อ : บทความนี้เสนอเทคนิคในการประหยัดพลังงานเครื่องสูบจ่ายน้ำแบบปรับความเร็วรอบได้ด้วยการประยุกต์ใช้กฎความสัมพันธ์และการประมาณค่าพารามิเตอร์โดยวิธีกําลังสองน้อยที่สุด รวมเรียกว่าระบบบันไดกําลังไฟฟ้าต่อหน่วย ทําการศึกษากับเครื่องสูบน้ำชนิดแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง จํานวน 4 เครื่อง ของสถานีสูบจ่ายน้ำ โรงงานผลิตน้ำมหาสวัสดิ์จากการศึกษาวิจัยทําให้ได้แบบจําลองแรงดันสูงมอบ เงื่อนไขการสลับเครื่องสูบน้ำในลักษณะขึ้น-ลง และรูปแบบการจัดตารางที่เหมาะสมที่สุด เทคนิคที่นําเสนอได้นําไปทดสอบในการปฏิบัติงานจริง เมื่อนําดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วยผลผลิตมาใช้เป็นเกณฑ์เปรียบเทียบก่อนและหลังศึกษา พบว่าเทคนิคนี้สามารถทําให้เกิดผลประหยัดพลังงานได้มากกว่า 11.59 %
คำสำคัญ : การอนุรักษ์พลังงาน, เครื่องสูบน้ำแบบปรับความเร็วรอบได้, กฎความสัมพันธ์, วิธีกําลังสองน้อยที่สุด
Abstract : This paper presents energy saving techniques for variable speed water pumps. By applying the
affinity law and estimating the least squares parameter, this is called the Per-Unit Power Ladder System. A study is conducted with four centrifugal pumps at distribution pumping station, Mahasawat water treatment plant. Based on the research results, the system provides delivery pressure models, pump-up switching conditions in up-down manner and the optimal scheduling patterns. The techniques presented are tested in actual operation. When the specific energy consumption index used as a comparison before and after study, it has been found that this technique can save energy more than 11.59%
Keywords : energy conservation, variable speed pump, affinity law, least square method
Link to Conference: การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13 (E-NETT13th) วันที่ 31 พฤษภาคม – มิถุนายน 2560 , โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม่.
Bibliography : โตมร สุนทรนภา. (2560). ระบบบันไดกําลังไฟฟ้าต่อหน่วยสําหรับการอนุรักษ์พลังงานเครื่องสูบน้ำแบบปรับความเร็วรอบได้ โดยการบูรณาการกฎความสัมพันธ์เข้ากับระเบียบวิธีกําลังสองน้อยที่สุด. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13 (E-NETT13th) วันที่ 31 พฤษภาคม – มิถุนายน 2560, โรงแรมดิเอ็มเพรส (หน้า 1267-1275). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
ระบบรักษาความปลอดภัยที่อยู่อาศัยด้วยโปรแกรมประยุกต์บนแพลตฟอร์มแอนดรอยด์
Title : ระบบรักษาความปลอดภัยที่อยู่อาศัยด้วยโปรแกรมประยุกต์บนแพลตฟอร์มแอนดรอยด์ : Resident Security System with Application on Android Platform
Researcher : จรรยา แหยมเจริญ และ วิวัฒน์ สถิรชาติ
Department : ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
E-mail : janya008@gmail.com
บทคัดย่อ : ระบบรักษาความปลอดภัยที่อยู่อาศัยด้วยโปรแกรมประยุกต์บนแพลตฟอร์มแอนดรอยด์ เป็นการประยุกต์ความรู้ทางเทคโนโลยี Internet of Things (IoT) บ้านอัจฉริยะ (Smart Home)คลาวด์คอมพิวติ้ง (Cloud Computing) และอุปกรณ์สื่อสารไร้สาย มาพัฒนา เนื่องจากที่อยู่อาศัยหรือบ้านเป็นปัจจัยที่สําคัญสําหรับมนุษย์และเป็นทรัพย์สินที่มีมูลค่าสูง และภายในบ้านประกอบด้วยทรัพย์สินที่มีค่าต่างๆ เพื่อเป็นการรักษาความปลอดภัยให้กับทรัพย์สินภายในบ้าน จึงได้พัฒนาอุปกรณ์ไมโครคอนโทรลเลอร์ต้นแบบ ประกอบด้วยArduino ESP8266 NodeMCU 280 ทําหน้าที่แม่ข่ายให้บริการเว็บ (Web Server)
และเป็นตัวกลางในการติดต่อสื่อสารกับ PIR Motion Sensor ทําหน้าที่ตรวจจับการเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิตและ PassiveBuzzer Module ทําหน้าที่แสดงเสียงแจ้งเตือน และพัฒนาเนทีฟแอพพลิเคชั่นที่ทํางานบนอุปกรณ์แอนดรอยด์เพื่อควบคุมการทํางานของอุปกรณ์ไมโครคอนโทรลเลอร์จากระยะไกลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และมีฟังก์ชั่นการแจ้งเตือนเมื่อตรวจพบผู้บุกรุก โดยการส่งผ่านข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ไมโครคอนโทรลเลอร์และแอพพลิเคชั่นผ่านฐานข้อมูลที่เก็บอยู่บนคลาวด์คอมพิวติ้ง ในการเขียนโปรแกรมทางฝั่งอุปกรณ์ไมโครคอนโทรลเลอร์จะเขียนชุดคําสั่งผ่าน SDK ของ Arduino และฝั่งแอพพลิเคชั่นจะเขียนชุดคําสั่งด้วยAndroid SDK จัดเก็บข้อมูลลงในฐานข้อมูล SQLite ผลการทดสอบระบบสามารถตรวจจับการเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิตได้เท่านั้น กรณีเป็นสิ่งของเคลื่อนที่ผ่านตัวตรวจจับจะไม่สามารถตรวจจับได้ และเมื่อตรวจพบผู้บุกรุกแอพพลิเคชั่นบนอุปกรณ์แอนดรอยด์จะแสดงการแจ้งเตือนแบบทันทีทันใด ทําให้เจ้าของบ้านทราบและสามารถโทรแจ้งตํารวจได้ทันทีสําหรับการนําไปใช้งานจริงควรจะมีการศึกษาและเลือกใช้อุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น และมีการเชื่อมต่อกับระบบกล้องวงจรปิดเพื่อให้สามารถดูภาพจากบ้าน ณเวลานั้นได้เลย
คําสําคัญ : บ้านอัจฉริยะ สิ่งของกับอินเทอร์เน็ต คลาวด์คอมพิวติ้ง ไมโครคอนโทรลเลอร์ ระบบรักษาความปลอดภัยที่อยู่อาศัย แอนดรอยด์
Abstract : Resident Security System with Application on Android Platform has adopted the knowledge and technology, such as Internet of Things (IoT), Smart Home, Cloud Computing and Mobile Wireless Device, wherewith the resident or home is the important factor for life and is the high value asset. Therefore, to secure the assets has developed microcontroller prototype which consist of Arduino ESP8266 NodeMCU 280 to be web server and communication central between PIR Motion Sensor module and Passive Buzzer module. Include to develop the native application which runs on Android platform for controlling the microcontroller by remote control via the Internet network and involve notification function when the sensor has detected the intruder. The microcontroller installed at home and the application communicate by data recorded on cloud computing. To program on microcontroller side has coding with Arduino SDK and Android application side has coding with Android SDK and record the data to SQLite DBMS. The results of the testing system is able to detect only the movement of organisms. When the movement of organisms has detected, the Android application will notify the homeowner immediately. For adoption in the future, should be studied more about powerful devices and connect to close circuit camera to visualize at that time.
Keywords : Smart Home, Internet of Things, Cloud Computing, Microcontroller, Resident Security System, Android
Proceeding : รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 The 5th Academic Science and Technology Conference 2017 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0” (Science and Technology as a Key Driver towards Thailand 4.0) วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร ผู้จัดหลัก: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
Link to Proceeding: https://www.astcconference.com/page/proceedings#astc-content
Bibliography : จรรยา แหยมเจริญ และ วิวัฒน์ สถิรชาติ. (2560). ระบบรักษาความปลอดภัยที่อยู่อาศัยด้วยโปรแกรมประยุกต์บนแพลตฟอร์มแอนดรอยด์. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0” (หน้า 1111-1119). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 20 ปี 2560
[mfn]อวยพร พานิช. (2560). การสื่อสารเพื่อถ่ายทอดศิลปะงานแทงหยวก. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(20), 7-22.[/mfn] การสื่อสารเพื่อถ่ายทอดศิลปะงานแทงหยวก
รศ. อวยพร พานิช
[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ และ ลัทธสิทธิ์ ทวีสุข. (2560). การสื่อสารด้วยลายเส้นเพื่อบ่งบอกถึงลักษณะดีหรือร้ายของตัวการ์ตูนเฉพาะเรื่องที่คัดสรร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(20), 23-34.[/mfn] การสื่อสารด้วยลายเส้นเพื่อบ่งบอกถึงลักษณะดีหรือร้ายของตัวการ์ตูนเฉพาะเรื่องที่คัดสรร
รศ.ดร.ศิริชัย ศิริกายะ
ลัทธสิทธิ์ ทวีสุข
3. การออกแบบสื่อวิดีโออินโฟกราฟิก เรื่องกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทวาไรตี้ บริษัทอมรินทร์เทเลวิชั่น จำกัด
รศ.ดร.กุลธิดา ธรรมวิภัชน์
พิมพ์มาดา โกจิราพันธ์
กนกวรรณ เดียงสระน้อย
4 . พฤติกรรมการสื่อสาร ความคาดหวังและการนำเสนอตัวตนของเยาวชนเพื่อสร้างความสัมพันธ์กับเพื่อนต่างเพศบนเครือข่ายสังคมออนไลน์เฟซบุ๊ค
ทัศนีย์ ดำเกิงศักดิ์
[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ, สุธี พลพงษ์ และ เจตน์จันทร์ เกิดสุข. (2560). จังหวะของการสื่อสารในรายการโทรทัศน์ประเภทเรียลลิตีเกมส์โชว์ที่คัดสรร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(20), 57-65.[/mfn] จังหวะของการสื่อสารในรายการโทรทัศน์ประเภทเรียลลิตีเกมส์โชว์ที่คัดสรร
รศ.ดร.ศิริชัย ศิริกายะ
รศ.สุธี พลพงษ์
เจตน์จันทร์ เกิดสุข
6 . ความหมายของลักษณะทางเพศของมนุษย์ผ่านภาพวาดลายเส้นชุด “รูปเปลือย 2016”
สุริยะ ฉายะเจริญ
7 . การสื่อสารผ่านสื่อออนไลน์กับกลุ่มผู้สูงอายุ
อริสรา ไวยเจริญ
8 . เทคนิคการถ่ายภาพพาโนรามาแบบต่อเชื่อมภาพ
อิทธิพล โพธิพันธุ์
9 . การใช้รหัสแต่งหน้าในบริบทงานพิธีการที่คัดสรร
กฤษณ์ คำนนท์
10. การสร้างสรรค์งานสตอปโมชันพิกซิลเลชันสำหรับการนำเสนอในงานแต่งงาน
ศักรา ไพบูลย์
11. กระบวนการสร้างสรรค์ลีลาท่าทางในการแสดงชุด “Harmony of Dance”
วณิชชา ภราดรสุธรรม
12. การออกแบบชุดตัวอักษรของมหาวิทยาลัยสยาม
กิตติธัช ศรีฟ้า
13. ภาพแทนความจริง
สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์
14. ‘ละครลิง’ ในภาวะวิกฤติและมูลเหตุแห่งการสูญหาย
ชญาณี ฉลาดธัญญกิจ
15. ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการสื่อสารในภาวะวิกฤตและชื่อเสียงองค์กร ของสถาบันการเงิน
พรปวีณ์ หงส์ไพฑูรย์
นภวรรณ ตันติเวชกุล
16. พฤติกรรมการเปิดรับและการใช้ประโยชน์ต่อเนื้อหาเว็บไซต์การศึกษาเอ็ดดูโซนดอทคอมของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศ
ผศ.ดร.กาญจนา มีศิลปวิกกัย
ธวัชชัย สุขสีดา
17. ปัจจัยด้านการประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาคร
ชัญญนิษฐ์ เลิศทัศนวงศ์
18. ช่องทางการจัดจำหน่ายภาพยนตร์ไทยของผู้สร้างอิสระกรณีศึกษา เรื่อง ผู้บ่าวไทบ้าน อีสานอินดี้
อธิเมศร์ อรุณโรจน์อังกูร
ดร.มนฤดี ธาดาอำนวยชัย
19. วิจารณ์หนังสือ “สารพันปัญหาและบทเรียนด้านการสื่อสารทางการแพทย์” ของ ศูนย์ฝึกอบรมทักษะการสื่อสารฝ่ายกุมารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
ธีรวันท์ โอภาสบุตร
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 21 ปี 2560
[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ และ กฤษณ์ ทองเลิศ. (2560). วิลักษณ์ในงานภาพกับลายลักษณ์อักษร ที่ซึ่งจินตนาการและสุนทรียภาพอุบัติพร้อม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 7-10.[/mfn] ทวิลักษณ์ในงานภาพกับลายลักษณ์อักษร ที่ซึ่งจินตนาการและสุนทรียภาพอุบัติพร้อม
ศิริชัย ศิริกายะ รองศาสตราจารย์ คณบดีคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
กฤษณ์ ทองเลิศ รองศาสตราจารย์ บัณฑิตศึกษา วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
[mfn]กุลธิดา ธรรมวิภัชน์, พรปภัสสร ปริญชาญกล, โสพล มีเจริญ, ถกนวรรณ น้อยปุก, ศรุตา รัตนชีวกร และ ณพวิทย์ พานิชปฐม. (2560). การพัฒนาสื่อวิดีโออินโฟกราฟิกแบบมีปฏิสัมพันธ์บนเครือข่ายสังคม เรื่อง กระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทบันเทิง บริษัท โมโน บรอดคาซท์ จำกัด. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 11-20.[/mfn] การพัฒนาสื่อวิดีโออินโฟกราฟิกแบบมีปฏิสัมพันธ์บนเครือข่ายสังคม เรื่อง กระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทบันเทิง บริษัท โมโน บรอดคาซท์ จำกัด
กุลธิดา ธรรมวิภัชน์, พรปภัสสร ปริญชาญกล, โสพล มีเจริญ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ถกนวรรณ น้อยปุก, ศรุตา รัตนชีวกร, ณพวิทย์ พานิชปฐม นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
[mfn]ธีรวันท์ โอภาสบุตร. (2560). การวางแผนเพื่อการประชาสัมพันธ์ กรณีศึกษา: โครงการเดิน – วิ่ง ๙ นี้ เพื่อประชา “สืบสานพระราชปณิธานของพ่อ” ของคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 21-28.[/mfn] การวางแผนเพื่อการประชาสัมพันธ์ กรณีศึกษา: โครงการเดิน – วิ่ง ๙ นี้ เพื่อประชา “สืบสานพระราชปณิธานของพ่อ” ของคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
ธีรวันท์ โอภาสบุตร อาจารย์ประจำภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
[mfn]มนฑิรา ธาดาอำนวยชัย . (2560). การสร้างสรรค์ภาพยนตร์สยองขวัญและการผลิตแบบควบคุมต้นทุน กรณีศึกษา Black Full moon (คืนหอนที่ค่ายลูกเสือ). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 29-41.[/mfn] การสร้างสรรค์ภาพยนตร์สยองขวัญและการผลิตแบบควบคุมต้นทุน กรณีศึกษา Black Full moon (คืนหอนที่ค่ายลูกเสือ)
มนฑิรา ธาดาอำนวยชัย คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
[mfn]นาฏยา พิลางาม . (2560). การวิเคราะห์บทบรรณาธิการหนังสือพิมพ์รายวัน สมัยพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาดำรงตำแหน่งผู้นำรัฐบาล. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 42-50.[/mfn] การวิเคราะห์บทบรรณาธิการหนังสือพิมพ์รายวัน สมัยพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาดำรงตำแหน่งผู้นำรัฐบาล
นาฏยา พิลางาม อาจารย์ประจำภาควิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
[mfn]พิสิฐ ตั้งพระประเสริฐ . (2560). การวิเคราะห์การจัดกิจกรรมศิลปะกับชุมชน “ย้อนรอยพระบาทยาตรา ณ บ้านโป่ง นิทรรศการทัศนศิลป์เทิดพระเกียรติ รัชกาลที่ 9” เพื่อน้อมรำลึกพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 51-60.[/mfn] การวิเคราะห์การจัดกิจกรรมศิลปะกับชุมชน “ย้อนรอยพระบาทยาตรา ณ บ้านโป่ง นิทรรศการทัศนศิลป์เทิดพระเกียรติ รัชกาลที่ 9” เพื่อน้อมรำลึกพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี
พิสิฐ ตั้งพระประเสริฐ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
[mfn]สุริยะ ฉายะเจริญ. (2560). กระบวนการสร้างสรรค์และเผยแพร่งานจิตรกรรม กรณีศึกษาผลงานจิตรกรรมเพื่อน้อมรำลึกถึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่สร้างสรรค์และเผยแพร่ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2560. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 61-70.[/mfn] กระบวนการสร้างสรรค์และเผยแพร่งานจิตรกรรม กรณีศึกษาผลงานจิตรกรรมเพื่อน้อมรำลึกถึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่สร้างสรรค์และเผยแพร่ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2560
สุริยะ ฉายะเจริญ อาจารย์ประจำภาควิชาสื่อดิจิทัล คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
[mfn]ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง. (2560). การกำกับพิธีกรเด็กในรายการ แอนิเมชั่นคลับ. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 71-78.[/mfn] การกำกับพิธีกรเด็กในรายการ แอนิเมชั่นคลับ
ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง อาจารย์ประจำภาควิชาวิทยุ-โทรทัศน์-ภาพยนตร์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
[mfn]จุฑารัตน์ การะเกตุ. (2560). เอกลักษณ์ในการสร้างสรรค์ละครเวทีแนวเซอร์เรียลลิสม์ของอ็องโตแน็ง อาร์โต. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 79-89.[/mfn] เอกลักษณ์ในการสร้างสรรค์ละครเวทีแนวเซอร์เรียลลิสม์ของอ็องโตแน็ง อาร์โต
จุฑารัตน์ การะเกตุ อาจารย์ประจำภาควิชาการสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
[mfn]วณิชชา ภราดรสุธรรม. (2560). กระบวนการสร้างสรรค์ลีลาท่าทางการแสดงชุด Meta Selfie ออกฉุยฉาย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 90-96.[/mfn] กระบวนการสร้างสรรค์ลีลาท่าทางการแสดงชุด Meta Selfie ออกฉุยฉาย
วณิชชา ภราดรสุธรรม อาจารย์ประจำภาควิชาการสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
[mfn]เอกสิทธิ์ อวยชัยวัฒน์, ปวรรศ จันทร์เพ็ญ และ ฐานทัศน์ ชมภูพล. (2560). กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดของแอปพลิเคชั่น จู๊ค มิวสิค ไทยแลนด์. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 97-105.[/mfn] กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดของแอปพลิเคชั่น จู๊ค มิวสิค ไทยแลนด์
เอกสิทธิ์ อวยชัยวัฒน์, ปวรรศ จันทร์เพ็ญ, ฐานทัศน์ ชมภูพล อาจารย์ประจำภาควิชาการโฆษณา คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
[mfn]ชญานุช วีรสาร. (2560). แนวโน้มของการผลิตภาพยนตร์โดยใช้วิธีการถ่ายทำวีดิทัศน์แนวตั้ง. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 106-116.[/mfn] แนวโน้มของการผลิตภาพยนตร์โดยใช้วิธีการถ่ายทำวีดิทัศน์แนวตั้ง
ชญานุช วีรสาร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำภาควิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
[mfn]ยุทธนา สุวรรณรัตน์. (2560). การข้ามผ่านทางการสื่อสารของบทพระราชนิพนธ์เรื่องไกลบ้าน. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 117-124.[/mfn] การข้ามผ่านทางการสื่อสารของบทพระราชนิพนธ์เรื่องไกลบ้าน
ยุทธนา สุวรรณรัตน์ นักศึกษาปริญาโท คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
[mfn]กัญฉกาจ ตระการบุญชัย. (2560). การเปรียบเทียบการบริหารงานการผลิตรายการทีวีดิจิทัลผ่านยูทูบ ช่องรับทราบโปรดักชั่น กับช่องเฟ็ดเฟ่บอยแบนด์. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 125-134.[/mfn] การเปรียบเทียบการบริหารงานการผลิตรายการทีวีดิจิทัลผ่านยูทูบ ช่องรับทราบโปรดักชั่น กับช่องเฟ็ดเฟ่บอยแบนด์
กัญฉกาจ ตระการบุญชัย นักศึกษาปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์ สาขาสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
[mfn]วลัยลักษณ์ สมจินดา. (2560). บทบาทสื่อมวลชนของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นสยามนิวส์ (จันทบุรี) และการรับรู้ของผู้รับสาร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 135-146.[/mfn] บทบาทสื่อมวลชนของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นสยามนิวส์ (จันทบุรี) และการรับรู้ของผู้รับสาร
วลัยลักษณ์ สมจินดา นักศึกษาปริญญาโท นิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
[mfn]ไกรลาศ ลือชัย. (2560). บทบาทในการสื่อสารของผู้นำชุมชนต่อการสร้างคลังความรู้เศรษฐกิจพอเพียงใน อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 147-156.[/mfn] บทบาทในการสื่อสารของผู้นำชุมชนต่อการสร้างคลังความรู้เศรษฐกิจพอเพียงใน อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย
ไกรลาศ ลือชัย นักศึกษาหลักสูตรรัฐประสาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์
[mfn]สุภาพร นิภานนท์. (2560). กลยุทธ์การสื่อสารและการบริหารประเด็นเพื่อผลักดันนโยบายระบบสุขภาพมาตรฐานเดียว. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 157-170.[/mfn] กลยุทธ์การสื่อสารและการบริหารประเด็นเพื่อผลักดันนโยบายระบบสุขภาพมาตรฐานเดียว
สุภาพร นิภานนท์ นักศึกษาปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์ สาขาสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ และ สมเกียรติ ศรีเพชร. (2560). การใช้รหัสของสติ๊กเกอร์ไลน์ในการสื่อสาร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 171-183.[/mfn] การใช้รหัสของสติ๊กเกอร์ไลน์ในการสื่อสาร
ศิริชัย ศิริกายะ รองศาสตราจารย์ คณบดีคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
สมเกียรติ ศรีเพชร นักศึกษาปริญาโท คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
[mfn]ศศิพรรณ บิลมาโนชญ์. (2560). บทวิจารณ์หนังสือ. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 184-185.[/mfn] บทวิจารณ์หนังสือ
ศศิพรรณ บิลมาโนชญ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 21 ปี 2560 Siam Communication Review Vol16 No21 2017
วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่ 18 ฉบับที่ 34 ม.ค.-มิ.ย. 2560
Factors Related to Maternal Tasks of Unplanned Adolescent Pregnant Women
กิ่งดาว แสงจินดา, นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต, สุพิศ ศิริอรุณรัตน์, อาจารย์, ตติรัตน์ เตชะศักดิ์ศรี, ผู้ช่วยศาสตราจารย์
Effect of Stress Mannagement by Anapanasti Meditation Practice and Muscle Relaxation of Caregivers for Older Adults after Stroke
ขวัญตา กลิ่นหอม, อาจารย์, วิไลวรรณ มุสิกเจียรนันท์, อาจารย์, พิศสมร เดชดวง, อาจารย์
ชนิดา มัททวางกูร, อาจารย์, ปรียานุช พลอยแก้ว, อโนทัย ถวัลย์เสรีวัฒนา, อัมพร สิทธิจาด, ธำรงเดช น้อยสิริวัฒนา
วิภาพร สิทธิสาตร์, อาจารย์, สมาภรณ์ เทียนขาว, อาจารย์
จรรยา กิจกสิกร, นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต, กรรณิการ์ สุวรรณโคตร, ผู้ช่วยศาสตราจารย์, เบ็ญจวรรณ พุทธิอังกูร, อาจารย์
เนติยา แจ่มทิม, พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่ 18 ฉบับที่ 34 ม.ค.-มิ.ย. 2560 Journal of Nursing, Siam University Vol. 18 No. 34 Jan-Jun 2017
วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่ 18 ฉบับที่ 35 ก.ค.-ธ.ค. 2560
สารบัญ
Research article
6-23
การรับรู้ของครอบครัวเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อม Family Perceptions Regarding Changes in Older Persons with Dementia
24-36
37-51
52-64
65-80
95-105
81-94
106-117
วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่ 18 ฉบับที่ 35 ก.ค.-ธ.ค.2560
Journal of Nursing, Siam University Vol.19 No. 35 Jul-Dec 2017
วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่18 ลำดับ35 2560
- การประยุกต์ใช้วิศวกรรมคันเซและแผนภาพความชอบในผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นด้วยลักษณะประสาทสัมผัสด้านรสชาติและกลิ่น
ชัยวัฒน์ กิตติเดชา
- การออกแบบเครือข่ายสำหรับมาตรฐานการจัดการความปลอดภัยของข้อมูล ขึ้นอยู่กับ ISO 27001
สันติ พัฒนะวิชัย
- กรอบแนวคิดสำหรับการวัดคุณภาพของข้อมูลสำหรับข้อมูลเปิดภาครัฐของประเทศไทย
พิมพ์พรรณ ทิพยแสง, พูลพงษ์ บุญพราหมณ์ และ มารุต บูรณรัช
- การใช้เหมืองกระบวนการสนับสนุนการจัดการความรู้
นุชรี เปรมชัยสวัสดิ์
- ตัวปรับแต่งสัญญาณโครงสร้างลาแกร์ปรับตัวได้สำหรับระบบดีเอสซีดีเอ็มเอโดยใช้อัลกอริทึมไซน์แบบใหม่
มยุรี เลิศเวชกุล, รื่นฤดี เบญจางคประเสริฐ และ ชวลิต เบญจางคประเสริฐ
วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่ 19 ลำดับที่ 36 ปี 2561 Engineering Journal of Siam University Vol19 No36 2018
วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่18 ลำดับที่34 ปี 2560
การวิเคราะห์ความคิดเห็นภาษาไทยเกี่ยวกับการรีวิวสินค้าออนไลน์โดยใช้ขั้นตอนวิธีซัพพอร์ตเวกเตอร์แมทชีน
รวิสุดา เทศเมือง และ นิเวศ จิระวิชิตชัย
การศึกษาและวิเคราะห์เพื่อจัดสร้างเครื่องฉีดน้ำยางพรามเมอร์
วิษรสรรค์ โชคชัยวิวัฒน์ อมรเทพ โทวราภา ชนม์วิโรจน์ จิรชาคริต ประพัฒน์ ศรีพฤทธิ์เกียรติ ชัชวาลย์ อ่วมทับ มานะ คงดีจันทร์ และ ศุขนที คงตัน
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย
ชัชฎาภา ดีวุ่น และ เปรมพร เขมาวุฆฒ์
– การใช้ตัวจําแนกการตัดสินใจนาอีฟเบย์แบบ Tree Augmented เพื่อเรียนรู้ข้อมูลการรีวิวร้านอาหาร
นิพัทธ์ จงสวัสดิ์
– ปัจจัยสนับสนุนการใช้งานระบบ E-learning อย่างต่อเนื่องโดยมีเพศของผู้ใช้เป็นตัวแปรกำกับ
นครินทร์ ปิ่นปฐมรัฐ
– การเตรียมข้อมูลเพื่อการทำเหมืองกระบวนการจากอุปกรณ์เซ็นเซอร์
เอนก นามขันธ์ ภูริเดช อาภาสัตย์ ประจิน พลังสันติกุล นรณัฐ สงวนศักดิ์โยธิน สมพงศ์ ตุ้มสวัสดิ์ วิเชียร เปรมชัยสวัสดิ์ และนุชรี เปรมชัยสวัสดิ์
– การประเมินอันตรายทางความร้อนของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ความเข้มข้นต่ำโดยดิฟเฟอเรนเชียลสแกนนิงแคลอริมิเตอร์
สุคนธ์ทิพย์ เพ็งโฉม โมไนย สุขแสงธรรม ศิริศาส เอื้อใจ และ โกวิทย์ ปิยะมังคลา