วารสารกระแสวัฒนธรรม-มหาวิทยาลัยสยาม

กระแสวัฒนธรรม ปีที่ 17 ฉบับที่ 32 ก.ค.-ธ.ค. 2559

กองบรรณาธิการ


บทบรรณาธิการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลลดา มงคลวนิช


สารบัญ


บทความวิจัย

1.  สำรับอาหารพื้นถิ่นเมืองพิษณุโลก
ผกาวดี ภู่จันทร์ และ โสรัจวรชุม อินเกต

2. ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการให้บริการนำเที่ยวเชิงพุทธในประเทศศรีลังกาของบริษัท ทัวร์เอื้องหลวง จำกัด
ณัฐนุช วณิชย์กุล และ ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ


3. การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ในชุมชนประเภทพิพิธภัณฑ์และวัด : กรณีศึกษาอำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
เพลินพิศ สมสกุล


4.  เพลงทับในรูปแบบการแสดงหนังตะลุง : กรณีศึกษานายทับในคณะของนายหนังตะลุงที่ได้เป็นศิลปินแห่งชาติ
ผกามาศ ชัยบุญ


5.  ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของลูกค้าร้านอาหารไทยในประเทศมาเลเซีย
ปาริชาติ เบ็ญฤทธิ์


บทความวิชาการ

  1.  ภูมิปัญญาและการสืบทอดผ้าไทยพวนบ้านใหม่ จังหวัดนครนายก
    อารีวรรณ หัสดิน

2.  การจัดกิจกรรมท่องเที่ยวค่ายพักแรมเพื่อเยาวชน   

กฤติกา สายณะรัตร์ชัย และ คมสิทธิ์ เกียนวัฒนา


3.    กระบวนการสร้างพื้นที่ทางสังคมของผีอีสาน    
ปิยลักษณ์ โพธิวรรณ์

 

Quick View
วารสารกระแสวัฒนธรรม-มหาวิทยาลัยสยาม-ปีที่18-ฉบับที่33-มค-มิย2560

กระแสวัฒนธรรม ปีที่ 18 ฉบับที่ 33 ม.ค.-มิ.ย. 2560

กองบรรณาธิการ


บทบรรณาธิการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลลดา มงคลวนิช


สารบัญ


บทความวิจัย

1. การศึกษาศักยภาพอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของรัฐเกรละ ประเทศอินเดีย
คมสิทธิ์  เกียนวัฒนา  และสุจิตรา  สุคนธทรัพย์


2. ภาพถ่ายความงามของศิลปวัฒนธรรมวิถีชาวไทยพุทธ ตำบลปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์
จิรทัศน์ ดาวสมบูรณ์ และเพ็ญนภา มณีอุด


3. รูปแบบการจัดการสื่อสารพิพิธภัณฑ์อุทยานการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร ที่มีผลต่อ ความสำเร็จของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
กิตพล เชิดชูกิจกุล


4. แนวทางการพัฒนาส่วนประสมทางการตลาดของที่ระลึกสำหรับ นักท่องเที่ยวชาวยุโรปและเอเชียในกรุงเทพมหานคร
กฤติกา สายณะรัตร์ชัย


5. การทวงถามในภาษาไทย : การศึกษากลวิธีทางภาษาและข้อคำนึงที่เป็นเหตุจูงใจ
สิทธิธรรม อ่องวุฒิวัฒน์


6. Thatsana Nataya Chatri Dance : A Creative Conservation Process of Performing Arts for Competition

Dusittorn Ngamying


บทความวิชาการ

1. พวงหรีด : วัฒนธรรมตะวันตกที่งอกงามในประเพณีไทย
รุจิราภา งามสระคู


2. จันทบุรี : เมืองท่าชายฝั่งทะเลตะวันออกบนเส้นทางอารยธรรมเขมรกับสยามประเทศไทย
กำพล จำปาพันธ์


3. อัตลักษณ์ในเอกลักษณ์ : พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่น
นงลักษณ์ ลิ้มศิริ

 

Quick View
วารสารกระแสวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่18 ฉบับที่34 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 ISSN 1513-4458

กระแสวัฒนธรรม ปีที่ 18 ฉบับที่ 34 ก.ค.-ธ.ค. 2560

บทบรรณาธิการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลลดา มงคลวนิช


หน้าสารบัญ


บทความวิจัย

  1. การสร้างความเข้มแข็งของทุนมนุษย์ในการจัดการการท่องเที่ยว โดยชุมชนของชาวอีสานล้านนา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
    ภัทรภร จิรมหาโภคา


  2. การรับรู้ของเยาวชนไทยต่อภาพลักษณ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
    คมสิทธิ์ เกียนวัฒนา และคณะ


  3. การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์หัตกรรมเครื่องรักเครื่องเขินไทย – เวียดนาม
    รพีพัฒน์ มั่นพรม


  4. การศึกษาสภาพวัฒนธรรมมอญกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของกลุ่มมอญ ในอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี เพื่อการจัดการการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน
    อัญชัญ ตัณฑเทศ และคณะ


  5. การประพันธ์ทำนองเพลงผ้าล้วง
    อังคณา ใจเหิม


  6. งานดนตรีไทยสากลของครูมงคล อมาตยกุล : ลักษณะเด่นในอุปนิสัย ความรอบรู้ ความสำเร็จในการสร้างวงดนตรีและนักร้องเพลงลูกทุ่ง
    กฤตวิทย์ ภูมิถาวร

 

บทความวิชาการ

  1. บทความปริทรรศน์ : การสืบทอดสื่อพื้นบ้าน หมอลำเรื่องต่อกลอน
    สันดุสิทธิ์ บริวงษ์ตระกูล

 

Quick View
วารสารกระแสวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่19 ฉบับที่35 มกราคม-มิถุนายน 2561 ISSN 1513-4458

กระแสวัฒนธรรม ปีที่ 19 ฉบับที่ 35 ม.ค.-มิ.ย. 2561

บทบรรณาธิการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลลดา มงคลวนิช


หน้าสารบัญ


บทความวิจัย







บทความวิชาการ

Quick View

กระแสวัฒนธรรม ปีที่ 19 ฉบับที่ 36 ก.ค.-ธ.ค. 2561

ISSN:  1513-4458

[dflip id="7305"][/dflip]

สารบัญ

บทความวิจัย

การพัฒนาศักยภาพอัตลักษณ์การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เมืองโบราณชากังราว

สุประภา  สมนักพงษ์


การวิเคราะห์และการจำแนกปริศนาคำทายไทยในปัจจุบัน: กรณีศึกษา นักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล

ภัทรธรณ์  แสนพินิจ


การอนุรักษ์และพัฒนาศิลปะการแสดงหุ่นละครเล็กในประเทศไทย
ปณต  สุสุวรรณ และคณะ


องค์ประกอบของปัจจัยการตลาดและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวตลาดน้ำคลองลัดมะยม

วราภรณ์  ลิ้มเปรมวัฒนา และดาริกา  กูลแก้ว


Key Success Enhancing Competencies for Human Resource among Tour Operators for Incentive Travel
Kanokkarn Kaewnuch


บทความวิชาการ

ความรู้เรื่องการเทียบพุทธศักราชกับศักราชอื่นๆ ที่มัคคุเทศก์ควรทราบ 
ละเอียด ศิลาน้อย และจรินทร์ ฟักประไพ


ปฏิบัติการทางวาทกรรมในวัฒนธรรมสมัยนิยมผ่านเพลงลูกทุ่งไทย
ปิยลักษณ์  โพธิวรรณ์


ความท้าทายชุมชนเชิงมรดกทางวัฒนธรรมต่อการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
อังค์ริสา แสงจำนงค์


 

Quick View

กระแสวัฒนธรรม ปีที่ 20 ฉบับที่ 37 ม.ค.-มิ.ย. 2562

ISSN:  1513-4458

[dflip id="7513"][/dflip]

สารบัญ

บทความวิจัย

การถ่ายโอนความรู้วัฒนธรรมดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวเลในจังหวัดสตูล Music Cultural Knowledge Transfer of Sea Gypsies Group in Sutun Province

Rewadee Ungpho

3-12



บทความวิชาการ

ศาสตร์พระราชา: พุทธบูรณาการแห่งนวัตกรรมศาสตร์สมัยใหม่เพื่อสังคมไทยทุกระดับ King’s Science: Buddhist Integration of Modern Science for Thai Society at All Levels

Phrakru Sunthonkhemapinan, Phrakru Sujitkittiwat, Phrapalad Wetchayan Thitasuttho


 

Quick View
วารสารกระแสวัฒนธรรม-มหาวิทยาลัยสยาม

การสร้างสังคมสมานฉันท์ด้วยสหศาสตร์ : กรณีศึกษาความไม่เข้าใจกันระหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

 

[mfn]สมหมาย จันทร์เรือง. (2555). การสร้างสังคมสมานฉันท์ด้วยสหศาสตร์ : กรณีศึกษาความไม่เข้าใจกันระหว่างประชาชน กับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่อำเภอรามัน จังหวัดยะลา. กระแสวัฒนธรรม, 13(23), 3-17.[/mfn]    การสร้างสังคมสมานฉันท์ด้วยสหศาสตร์ : กรณีศึกษาความไม่เข้าใจกันระหว่างประชาชน กับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่อำเภอรามัน จังหวัดยะลา  THE CONSTRUCTION OF A HARMONIOUS SOCIETY BY MULTIDISCIPLINE : A CASE STUDY ON MISUNDERSTANDING BETWEEN CITIZENS AND THE STATE OFFICERS IN RAMAN DISTRICT, YALA PROVINCE 

เจ้าของผลงาน       :  ผศ.ดร. สมหมาย จันทร์เรือง

บทคัดย่อ                :  งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพประกอบกับการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความไม่เข้าใจกันระหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จากปัจจัยด้านรัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์และสังคมวิทยาผลการวิจัยพบว่าปัจจัยทางรัฐศาสตร์เกิดมาจากการเป็นรัฐอิสระที่รุ่งเรืองในอดีต มีความเชื่อพระเจ้าของศาสนาอิสลาม การปกครองยึดถือคำสอนของศาสนาอิสลามเป็นหลัก ด้านเศรษฐศาสตร์ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรมและการทำประมง อาศัยป่าและทะเล หรือแหล่งน้ำในการดำรงชีวิตที่พอเพียงเลี้ยงชีพได้ด้านสังคมวิทยาพบว่า ประชาชนในอำเภอรามัน จังหวัดยะลาส่วนใหญ่เป็นอิสลามมาเลย์ใช้ภาษายาวี การศึกษาได้ช่วยการหล่อหลอมความเชื่อทางศาสนา การที่รัฐมีนโยบายที่เอื้อต่อคนส่วนน้อยที่เป็นไทยพุทธและคนจีนทำให้เกิดความไม่เข้าใจกันระหว่างประชาชนส่วนใหญ่กับเจ้าหน้าที่ของรัฐ แนวทางแก้ไขจึงควรสนับสนุนด้านการศึกษาเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจกัน โดยการจัดระบบการศึกษาของกระทรวงศึกษาอย่างเหมาะสม

คำสำคัญ                : สมานฉันท์ สหศาสตร์ รามัน ยะลา

Abstract              :  The Construction of Harmonious Society by Multidiscipline : The research entitled “A Case Study on Misunderstanding between Citizens and the State Officers in Raman District, Yala” is aimed to study misunderstanding between citizens and the state officers with to factors in relation to political science, economics, and sociology, and to study means to build a harmony community in Raman district, Yala province. The research employed both quantitative and qualitative approaches. This study reveals misunderstanding with regard to factors in political science – since the inhabitants built their first homes in Pattani, this township was an independent city state and ruled by a monarchy system still lingers. Its rulers were Islamic and had their faith in the power of God, i.e. Allah. In the matter of economy, most of them had careers in agriculture, raised livestock and fishery. Upon the geographical factors, they had forests, mountains and water supplies from rivers, ponds and lagoons in addition to the sea. Their resources thus were plentiful and wel supportive to plant farming. They relied on sufficiency way of life; and relied on nature. The people’s livelihood in the three southern most provinces was a truly integration among people of al ethnic origins. However, the majority of them have been Islamic Malays. Their faith is Islam and their spoken language is Yawee which is the local Malay dialect. Their education has put a stress on religious studies, and they have their mosque as centre of their religious practices. The minority of the residents have been Buddhist Thais and Chinese. They have their monasteries and shrines as their religious and are educated according to the system provided by the Ministry of Education.

Keywords           :  Harmonious, Multidiscipline, Raman Yala

Download PDF  :  การสร้างสังคมสมานฉันท์ด้วยสหศาสตร์ : กรณีศึกษาความไม่เข้าใจกันระหว่างประชาชน กับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่อำเภอรามัน จังหวัดยะลา


Publication        :  กระแสวัฒนธรรม ปีที่ 13 ฉบับที่ 23 ม.ค.-มิ.ย. 2555   Cultural Approach  Vol.13 No.23 Jan-Jun 2012

Link to Publication:  https://e-library.siam.edu/e-journal/article/journal-of-cultural-approach-2012-vol13-no23-jan-jun/

Bibliography     :  สมหมาย จันทร์เรือง. (2555). การสร้างสังคมสมานฉันท์ด้วยสหศาสตร์ : กรณีศึกษาความไม่เข้าใจกันระหว่างประชาชน กับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่อำเภอรามัน จังหวัดยะลา. กระแสวัฒนธรรม, 13(23), 3-17.


คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

Quick View
วารสารกระแสวัฒนธรรม-มหาวิทยาลัยสยาม-ปีที่14-ฉบับที่25-มค-มิย2556

ภาพลักษณ์ตลาดน้ำในสายตาของเยาวชนไทย (2556)

 

ภาพลักษณ์ตลาดน้ำในสายตาของเยาวชนไทย
ผศ.ดร. ชลลดา มงคลวนิช

บทคัดย่อ:
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงภาพลักษณ์ตลาดน้ำในสายตาของเยาวชนไทยและเปรียบเทียบความคิดเห็นของแหล่งท่องเที่ยวประเภทตลาดน้ำของไทย โดยศึกษาถึงลักษณะทางด้านประชากรศาสตร์ของเยาวชนไทย พฤติกรรม และภาพลักษณ์ตลาดน้ำในสายตาของเยาวชนไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักท่องเที่ยวที่เป็นเยาวชนที่เคยเดินทางไปท่องเที่ยวตลาดน้ำในประเทศไทย จำนวน 442 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติการแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean: ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation: S.D.) สถิติt-test กรณีเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย 2 กลุ่ม และใช้สถิติF-test วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA) กรณีเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยมากกว่า 2 กลุ่ม
ผลการศึกษา พบว่า นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีอายุเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 17-18 ปีมีระดับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมากที่สุด โดยรวมมีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์ตลาดน้ำอยู่ในระดับมาก นักท่องเที่ยวมีความคิดเห็นว่าลักษณะของตลาดน้ำน่าจะแสดงถึงวิถีชีวิตในท้องถิ่น มีสินค้าประเภทขนมหวานหรือขนมไทย ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ของที่ระลึกสำหรับซื้อฝาก และต้องการให้มีการเปิดบริการทุกวัน ความชื่นชอบลักษณะของตลาดน้ำด้านการเดินทาง ด้านสถานที่ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก และด้านการบริการ อยู่ในระดับมากในทุกด้าน
ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ตลาดน้ำ พบว่า นักท่องเที่ยวที่มีเพศต่างกันมีความคิดเห็น เกี่ยวกับตลาดน้ำในด้านการเดินทาง ด้านสถานที่ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก และด้านการบริการไม่แตกต่างกัน และจำนวนครั้งที่นักท่องเที่ยวเคยไปเที่ยวตลาดน้ำแตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ตลาดน้ำในด้านการเดินทาง ด้านสถานที่ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก และด้านการบริการ ไม่แตกต่างกัน ผลการเปรียบเทียบ ความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ตลาดน้ำที่นักท่องเที่ยวชื่นชอบรายคู่กับจำนวนครั้งที่เคยไปเที่ยวตลาดน้ำในเรื่อง เกี่ยวกับการบริการด้านการมีมัคคุเทศก์ท้องถิ่น พบว่า นักท่องเที่ยวที่เคยไปเที่ยวตลาดน้ำ 1 ครั้ง กับเคยไปเที่ยวตลาดน้ำมากกว่า 3 ครั้ง มีความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ตลาดน้ำในด้านการบริการที่มีมัคคุเทศก์ท้องถิ่นไว้บริการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ 0.05

คำสำคัญ : ภาพลักษณ์ตลาดน้ำ เยาวชน

 

Quick View

เสียงแปรในภาษาฝรั่งเศสของนักเรียนไทย

[mfn]อัคร ธนะศิรังกูล และ อภิลักษณ์ ธรรมทวีธิกุล. (2561). เสียงแปรในภาษาฝรั่งเศสของนักเรียนไทย. วารสารสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย, 41(135), 86-96.[/mfn]   เสียงแปรในภาษาฝรั่งเศสของนักเรียนไทย

อัคร ธนะศิรังกูล และ อภิลักษณ์ ธรรมทวีธิกุล


ผลงานวิชาการ อ. อัคร ธนะศิรังกูล – Akhara Thanasirangkul

Quick View
วารสารกระแสวัฒนธรรม-มหาวิทยาลัยสยาม

แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช

 

[mfn]สมหมาย จันทร์เรือง. (2557). แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช. กระแสวัฒนธรรม, 15(28), 17-26.[/mfn]   แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช  Political Concepts on Buddhist Approach of M.R. Kukrit Pramoj

เจ้าของผลงาน       :  ผศ.ดร. สมหมาย จันทร์เรือง

บทคัดย่อ                : การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ระเบียบวิธีวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาเจาะจง จำนวน 14 คน และกระบวนการสนทนากลุ่มจากผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน  5 คน นำมารวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณา ผลการศึกษาพบว่า แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช คือการปกครอง ที่ใช้หลักธรรมทางพุทธศาสนาในการปกครอง ได้แก่ ทศพิธราชธรรม สังคหวัตถุ และจักรวรรดิวัตร ซึ่งสามารถนำมาใช้กับการเมืองการปกครองไทยในปัจจุบัน เฉพาะอย่างยิ่งทศพิธราชธรรม ได้นำมาประยุกต์กับการบริหารองค์การภาครัฐและภาคเอกชนอย่างกว้างขวาง สำหรับการปกครองของประเทศไทยด้วยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขสอดคล้องกับหลักธรรมราชาหรือราชาธิปไตย ที่ผู้นำการปกครองต้องกอปรด้วย คุณธรรมจริยธรรมตามหลักธรรมทางพุทธศาสนา โดยความซื่อสัตย์สุจริต และความกล้าหาญเป็นคุณสมบัติที่สังคมไทยต้องการมากที่สุด นอกจาก ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้นำเสนอแนวคิดทางการเมืองแนวพุทธผ่านทางนวนิยายและบทความในหนังสือพิมพ์แล้วยังได้แสดงบทบาทดำรงตนและดำรงความเป็นผู้นำทางการเมืองตามหลักธรรมทางพุทธศาสนา อันถือเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับนักการเมืองและการบริหารบ้านเมืองไทยในทุกยุคทุกสมัย

คำสำคัญ                :  แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธ,  ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช

Abstract              :  The objective of this research is study the Buddhist Approach on Political Concepts of M.R. Kukrit Pramoj. The research methodology employed this research is qualitative, including several qualitative methods of (1) documentary research, (2) in-depth interview with fourteen informants selected by purposive sampling method and (3) focus group interview with five qualifying experts, in which descriptive approach of data analysis were employed. The result of the study was that the Buddhist political Concepts of M.R. Kukrit Pramoj resembles Buddhist principles of governance which include: desa-raja-dhamma (Ten Duties of the King), sanga-ha-vatthu (Principles of Service and Social Integration), and cak-ka-vatti-vat (Duties of the Great rulers). All these principles were being widely adapted to modern Politics and Governance in Thailand, especially the desa-raja-dhamma (Ten Duties of the King) that being applied in managing public and private sectors nationwide. Consequently, the democratic form of governance in Thailand with the King as the head of the state stipulates the condition of dhamma-raja in which the head of the state must uphold their virtue and moral according to the Buddhist principles. Ultimately, honesty, integrity, and courage are leadership characteristics mostly demanded by Thai public and society. Apart from the fact that M.R. Kukrit Pramoj had presented his Buddhist political ideology via his several outstanding masterpieces including novels and newspaper articles, he also consistently live and committed to his role status as a faithful Buddhist-principle-guided Thai political leader, thus, being a great role model for both politics and governance circles in Thailand until nowadays.

Keywords           :  Political Concepts on Buddhist Approach, M.R. Kukrit Pramoj

Download PDF  :  แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช  Political Concepts on Buddhist Approach of M.R. Kukrit Pramoj


Publication        :  กระแสวัฒนธรรม ปีที่ 15 ฉบับที่ 28 ก.ค.-ธ.ค. 2557   Cultural Approach  Vol.15 No.28 Jul-Dec 2014

Link to Publication:  https://e-library.siam.edu/e-journal/article/journal-of-cultural-approach-2014-vol15-no28-jul-dec/

Bibliography     :  สมหมาย จันทร์เรือง. (2557). แนวคิดทางการเมืองแนวพุทธของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช. กระแสวัฒนธรรม, 15(28), 17-26.


คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

Quick View