คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

การสื่อสารด้วยลายเส้นเพื่อบ่งบอกถึงลักษณะดีหรือร้ายของตัวการ์ตูนเฉพาะเรื่องที่คัดสรร

 

[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ และ ลัทธสิทธิ์ ทวีสุข. (2560). การสื่อสารด้วยลายเส้นเพื่อบ่งบอกถึงลักษณะดีหรือร้ายของตัวการ์ตูนเฉพาะเรื่องที่คัดสรร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(20), 23-34.[/mfn]   การสื่อสารด้วยลายเส้นเพื่อบ่งบอกถึงลักษณะดีหรือร้ายของตัวการ์ตูนเฉพาะเรื่องที่คัดสรร  Communication of Lines to Indicates the Goodness and Badness of Selected Cartoon Characters

เจ้าของผลงาน       :  รศ.ดร.ศิริชัย  ศิริกายะ และ ลัทธสิทธิ์ ทวีสุข

บทคัดย่อ                :  การวิจัยนี้ผู้เขียนมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิจัยการสื่อความหมายเชิงสัญญะ ความหมายอันเกิดจากลักษณะการใช้ลายเส้นที่ประกอบสร้างกันจนเกิดความหมายเพื่อสร้างความเข้าใจในการสื่อสารด้วยลายเส้นเพื่อบ่งบอกถึงลักษณะดีหรือร้ายของตัวการ์ตูนในบริบทที่ต่างกัน โดยมุ่งเน้นการศึกษาการใช้ลายเส้นในการออกแบบ เพื่อสื่อความหมายในตัวการ์ตูนดีและร้าย ที่มีบริบท (Context) ต่างกัน เป็นการ์ตูนจาก 4 ประเทศคือ ประเทศไทย ประเทศญี่ปุ่น ประเทศฝรั่งเศส ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยการคัดสรรค์ตัวการ์ตูน ดีและร้าย มาวิเคราะห์ในเชิงสัญญะ ผู้วิจัยนำตัวการ์ตูนทั้งสองฝ่ายมาถอดแบบวิเคราะห์เพื่อหาข้อเปรียบเทียบกันว่ามีการใช้ลักษณะลายเส้นอย่างไร  ผู้วิจัยทำการวิเคราะห์ลายเส้นจากตัวการ์ตูนทั้ง 5 เรื่อง โดยนำตัวการ์ตูนมากรื้อสร้าง (deconstruction) จากรูปร่าง มาเป็นรูปทรง จนถึงลายเส้น เพื่อสืบค้นหา สัญญะ (Sign) ลักษณะของลายเส้น (Line) ในการออกแบบตัวการ์ตูน เพื่อนำมาวิเคราะห์ร่วมกับเนื้อเรื่อง (Text) สืบหาถึงมายาติ (Myth) ของการ์ตูนแต่ละประเทศ ว่ามีความเป็นมาอย่างไรในบริบท (Context) ของเนื้อเรื่องการ์ตูน และ บริบทของประเทศนั้น ๆ การสื่อความหมายของลายเส้นในการ์ตูนไทย การ์ตูนญี่ปุ่น การ์ตูนฝรั่งเศส นั้นมีการใช้ลักษณะลายเส้น (Line) และภาพฝังใจ (Stereotyping) ที่คล้ายกันคือตัวการ์ตูนที่ดีจะใช้เส้นโค้งมากส่วนตัวการ์ตูนร้ายจะใช้เส้นตรงแนวตั้ง เส้นตรงแนวเฉียง เป็นส่วนมาก ไม่แตกต่าง ตัวการ์ตูนดีจะตัวเล็กกว่าตัวที่ร้าย จะแตกต่างก็เพียงในเรื่องของการวางเนื้อเรื่องที่มีผลตัวตัวการ์ตูนนั้น ๆ นั่นเป็นเพราะการ์ตูนทั้งสองเรื่องมีกลุ่มเป้าหมายที่แตกต่างกันมีบริบท (Context) ที่แตกต่างกัน จึงส่งผลต่อการสื่อความหมายของการ์ตูน

Abstract               : The study samples herein are good and evil characters chosen from 5 comic books from 4 different countries of origin; Thailand, Japan, France and USA. The drawing of each character is deconstructed to investigate the sign and the characteristic of lines used in character design. The deconstruction of the line drawing and the text narration are analyzed by researcher to investigate the myth behind the comic from each country in order to understand the background
of the myth in the Context of the comic and the culture in which it is created.

Download PDF :  การสื่อสารด้วยลายเส้นเพื่อบ่งบอกถึงลักษณะดีหรือร้ายของตัวการ์ตูนเฉพาะเรื่องที่คัดสรร 


Publication        :   วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 20 ปี 2560   Siam Communication Review Vol.16 N20 2017

Link to Publication:  https://e-library.siam.edu/e-journal/article/siam-communication-review-2017-vol16-no20/

Bibliography     :ศิริชัย  ศิริกายะ และ ลัทธสิทธิ์ ทวีสุข. (2560). การสื่อสารด้วยลายเส้นเพื่อบ่งบอกถึงลักษณะดีหรือร้ายของตัวการ์ตูนเฉพาะเรื่องที่คัดสรร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(20), 23-34.


คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

 

Quick View
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 17 ฉบับที่22 พ.ศ.2561

การใช้รหัสของสติ๊กเกอร์ไลน์เพื่อการสื่อสารระหว่างบุคคล

 

[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ และ สมเกียรติ ศรีเพชร. (2561). การใช้รหัสของสติ๊กเกอร์ไลน์เพื่อการสื่อสารระหว่างบุคคล. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 17(22), 97-105.[/mfn]   การใช้รหัสของสติ๊กเกอร์ไลน์เพื่อการสื่อสารระหว่างบุคคล  The Usage of Codes LINE Stickers for Interpersonal Communication

เจ้าของผลงาน       :  รศ.ดร.ศิริชัย  ศิริกายะ และ สมเกียรติ ศรีเพชร

บทคัดย่อ                : การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงการใช้รหัสในการประกอบสร้างความหมายของสติกเกอร์ไลน์เพื่อใช้ในการสื่อสารระหว่างบุคคล โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากสติกเกอร์ไลน์ยอดนิยมจำนวน 5 ชุดควบคู่การสัมภาษณ์จากผู้สร้างผลการศึกษาพบว่า ความหมายของสติกเกอร์ไลน์ทั้ง 5 ชุดถูกสร้างขึ้นจากสื่อภาพที่นำเอาสัญรูปและดัชนีมาประกอบเป็นตัวคาแรคเตอร์การ์ตูนให้แสดงอารมณ์ ความรู้สึกผ่านสีหน้าและกิริยาท่าทาง ควบคู่กับสัญลักษณ์ในรูปแบบสื่อตัวเขียนประกอบสร้างเป็นข้อความแบบไม่เป็นทางการเพื่อใช้โต้ตอบแต่ละสถานการณ์ เนื้อหาหลักของสติกเกอร์ไลน์เป็นการสานต่อและถนอมรักษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่แตกต่างไปตามระดับของความสัมพันธ์ นอกจากนี้บริบท
ทางสังคมและวัฒนธรรมยังเข้ามามีอิทธิพลต่อการประกอบสร้างสติกเกอร์ไลน์ร่วมด้วย ทั้งนี้ผลการศึกษายังพบอีกว่าเนื้อหาในสติกเกอร์ไลน์สามารถทับซ้อนและแปรเปลี่ยนไปได้อย่างหลากหลายในเวลาเดียวกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับการตีความของผู้ทำการสื่อสารรวมถึงบริบทที่ครอบงำการสื่อสารในขณะนั้น

คำสำคัญ                :  รหัส, สติกเกอร์ไลน์, การสื่อสารระหว่างบุคคล

Abstract              :  The objective of this study is to find the use of code in the construction of meaning of LINE Stickers which was used in interpersonal communication. The data were collected by qualitative method through analyzing the top five popular LINE Stickers series along with interviewing from the creators. The study found that the meaning of all five line stickers series were constructed by visual media which applied iconic and index signs to constitute the cartoon characters for facial expressions and gestures, and symbolic signs in the form of text media to constitute the informal language for communicating in each situation. The main content of LINE Stickers is maintaining and repairing personal relationships which are various depending on relations. Moreover, social and cultural contexts, also, had effects on LINE Stickers creation. The study also found that the content of LINE Stickers overlap and alter in different ways relating to interpretation of communicators and contexts which predominated that communication.

Keywords           :  Code, Line Sticker, Interpersonal Communication

Download PDF  :  การใช้รหัสของสติ๊กเกอร์ไลน์เพื่อการสื่อสารระหว่างบุคคล


Publication        :   วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 17 ฉบับที่ 22 ปี 2561   Siam Communication Review Vol.17 N0.22 2018

Link to Publication:  https://e-library.siam.edu/e-journal/article/siam-communication-review-vol17-no22-2018/

Bibliography     :  ศิริชัย ศิริกายะ และ สมเกียรติ ศรีเพชร. (2561). การใช้รหัสของสติ๊กเกอร์ไลน์เพื่อการสื่อสารระหว่างบุคคล. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 17(22), 97-105.


คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

Quick View

การใช้รหัสของสติ๊กเกอร์ไลน์ในการสื่อสาร

 

[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ และ สมเกียรติ ศรีเพชร. (2560). การใช้รหัสของสติ๊กเกอร์ไลน์ในการสื่อสาร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 171-183.[/mfn]    การใช้รหัสของสติ๊กเกอร์ไลน์ในการสื่อสาร  Using the Code of Line Stickers for Communication

เจ้าของผลงาน       :  รศ.ดร.ศิริชัย  ศิริกายะ และ สมเกียรติ ศรีเพชร

บทคัดย่อ                :  บทความนี้มีจุดประสงค์ เพื่อนำองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษา เรื่องการใช้รหัสต่าง ๆ ที่ปรากฏในตัวคาแรกเตอร์ ของสติกเกอร์ไลน์สำ หรับใช้ในการสื่อสารโดยทำการรวบรวมข้อมูลสติกเกอร์ไลน์ในกลุ่ม Creator Market อันดับขายดี (TOP 5) โดย LINE Official Website ประเทศไทยระหว่างเดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2558 – 2559 เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลในการวิเคราะห์ตามกรอบแนวคิดและทฤษฎีต่าง ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งได้จำ นวนทั้งหมด 14 แบบ รวม 544 ตัว จากผลของการศึกษาพบว่าสติกเกอร์ไลน์แต่ละตัวถูกสร้างสรรค์ออกมาในรูปแบบของการ์ตูน ซึ่งใช้รหัสการ์ตูน ในการสร้างสรรค์ และรหัสการ์ตูนนั้นจะมีรหัสแยกย่อยอีก 2 รหัสคือ รหัสนำ เสนอ และ รหัสภาพแทน ซึ่งแต่ละรหัสจะมีรหัสแยกย่อยลงไปอีก อาทิ รหัสของการแสดงสีหน้า รหัสของการแสดงท่าทาง รหัสเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย รหัสของมุกตลก รหัสภาษา รหัสเชิงสังคม และสัญญะอันเป็นส่วนหลักในการจัดการกับเครื่องหมายต่าง ๆ ให้เกิดความหมายจนส่งก่อให้เกิดความเข้าใจในการสื่อสารผ่านไลน์ทั้งทั้งความหมายตรง ความหมายแฝง ทั้งนี้ผู้ใช้จะต้องเข้าใจในการเข้ารหัสและถอดรหัสจากรหัสแบบเดียวกัน ความหมายจึงจะเกิดขึ้นและไม่หนีไปจากที่ควรจะเป็น และความหมายของสติกเกอร์ไลน์แต่ละตัวสามารถผันแปรไปตามบริบทของเรื่องที่เกิดขึ้นระหว่างการสนทนาของส่วนบุคคลส่วนท้ายผู้วิจัยได้นำ เรื่องวัจนกรรมเข้ามาผูกโยงกับสติกเกอร์ไลน์เพราะข้อความที่ปรากฏพร้อมคาแรกเตอร์เป็นส่วนสำคัญที่ทำ ให้ความหมายเกิด แต่ข้อความเหล่านี้ได้แฝงวัตถุประสงค์ เจตนา หรือวัตถุประสงค์จากฝั่งผู้ส่งที่แตกต่างกันออกไป ไม่ว่าจะเป็นข้อความที่แฝงเจตนาให้ผู้รับกระทำตาม หรือแฝงการขอร้อง รวมถึงการแฝงคำสั่งที่แทรกอยู่ในรหัสภาษาเหล่านั้น

คำสำคัญ                :  รหัส, สติกเกอร์ไลน์, การสื่อสาร

Abstract              :  This article aims to study the code that present in the Line Stickers for communication. Line Stickers were collected by Top 5 Creator Market by Link Official Website from July, 2015 – December, 2016 there are 14 sets and 544 characters. From the study, Line Stickers were presented in cartoon form which using cartoon code to create which compose of two code which are presentational code and representational code—these two sub codes were separated into other codes such as facial code, body language code, clothing code, humorous code, language code, social code and signs which are the main component to conduct the meaning including connotation and denotation. Therefore, the user must have the same encoding and decoding to interpret the same meaning. Also, the meaning of each Line Stickers can be flexible depends on the context . Finally, Speech Acts is related to the Line Stickers because both text and character is main component to conduct the meaning that hidden the purpose and intention such as message that hidden the purpose to expect the receiver to follow, or hidden some requests and including the order that hidden in the text.

Keywords           :  Code, Line Sticker, Communication

Download PDF :  การใช้รหัสของสติ๊กเกอร์ไลน์ในการสื่อสาร


Publication        :   วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 21 ปี 2560   Siam Communication Review Vol.16 N21 2017

Link to Publication:  https://e-library.siam.edu/e-journal/article/siam-communication-review-vol16-no21-2017/

Bibliography     : ศิริชัย ศิริกายะ และ สมเกียรติ ศรีเพชร. (2560). การใช้รหัสของสติ๊กเกอร์ไลน์ในการสื่อสาร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 171-183.


คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

Quick View

จังหวะของการสื่อสารในรายการโทรทัศน์ประเภทเรียลลิตีเกมส์โชว์ที่คัดสรร

 

[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ, สุธี พลพงษ์ และ เจตน์จันทร์ เกิดสุข. (2560). จังหวะของการสื่อสารในรายการโทรทัศน์ประเภทเรียลลิตีเกมส์โชว์ที่คัดสรร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(20), 57-65.[/mfn]   จังหวะของการสื่อสารในรายการโทรทัศน์ประเภทเรียลลิตีเกมส์โชว์ที่คัดสรร  Punctuation in Selected Reality Game Show Television Program

เจ้าของผลงาน       :  รศ.ดร.ศิริชัย  ศิริกายะ, สุธี พลพงษ์ และ เจตน์จันทร์ เกิดสุข

บทคัดย่อ                :  การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงลักษณะจังหวะของการสื่อสารที่เกิดขึ้นในรายการโทรทัศน์ประเภทเรียลลิตี้เกมส์โชว์ที่คัดสรร และการสื่อความหมายของจังหวะของการสื่อสารในแต่ละลักษณะ จากการวิจัยผู้วิจัยพบว่าลักษณะของจังหวะของการสื่อสารมีอยู่ 7 ลักษณะได้แก่ การเพิ่มจังหวะการเร่งจังหวะ การแทรกจังหวะ การสลับจังหวะ การซํ้าจังหวะ การเน้นจังหวะ และการเปลี่ยนจังหวะ

Abstract               :  This qualitative research aims to understand the types of punctuation in selected reality game show television program and theirs signification. As a result, the researcher found seven types of punctuation: 1) added 2) speed up punctuation 3) inserted punctuation 4) switching punctuation 5) repeated punctuation 6) emphasize punctuation 7) changing punctuation.

Download PDF :  จังหวะของการสื่อสารในรายการโทรทัศน์ประเภทเรียลลิตีเกมส์โชว์ที่คัดสรร 


Publication        :   วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 20 ปี 2560   Siam Communication Review Vol.16 N20 2017

Link to Publication:  https://e-library.siam.edu/e-journal/article/siam-communication-review-2017-vol16-no20/

Bibliography     : ศิริชัย ศิริกายะ, สุธี พลพงษ์ และ เจตน์จันทร์ เกิดสุข. (2560). จังหวะของการสื่อสารในรายการโทรทัศน์ประเภทเรียลลิตีเกมส์โชว์ที่คัดสรร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(20), 57-65.


คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

 

Quick View

ทฤษฎีควอนตัมฟิสิกส์กับการควบรวมและการแปลงรูปองค์ประกอบการสื่อสารในยุคดิจิทัล

 

[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ. (2559). ทฤษฎีควอนตัมฟิสิกส์กับการควบรวมและการแปลงรูปองค์ประกอบการสื่อสารในยุคดิจิทัล. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 7-9.[/mfn]   ทฤษฎีควอนตัมฟิสิกส์กับการควบรวมและการแปลงรูปองค์ประกอบการสื่อสารในยุคดิจิทัล The Quantum Physics Theory and the Convergence Transformation of the Communication Elements in the Digital Age

เจ้าของผลงาน       :  รศ.ดร.ศิริชัย  ศิริกายะ

บทคัดย่อ                :  จุดประสงค์ของบทความนี้เพื่อนำเสนอประเด็นในการวิจัยและงานสร้างสรรค์ทางนิเทศศาสตร์ที่ไม่ใช่ลักษณะเดิม โดยพิจารณาไปที่องค์ประกอบพื้นฐานทางการสื่อสารที่สามารถทับซ้อน ควบรวม และโอนถ่ายจากสภาพหนึ่งไปเป็นสภาพอื่น ๆ ได้ ทั้งนี้โดยอาศัยแนวคิดทฤษฎีควอนตัมฟิสิกส์และเทคโนโลยีดิจิทัล

คำสำ คัญ               :  ทฤษฎีควอนตัมพิสิกส์, การควบรวมและการแปลงรูป, การสื่อสารในยุคดิจิทัล

Abstract               :  The purpose of this article is to present the issue on communication research and creative works is a different perspective. The basic elements of communication can be considered in terms of overlapping, convergence, and transformation. The principles of quantum physics and digital technologies are the main concepts.

Keywords           : Quantum Physics Theory, Convergence-Transformation, Communication in the Digital Age

Download PDF :   ทฤษฎีควอนตัมฟิสิกส์กับการควบรวมและการแปลงรูปองค์ประกอบการสื่อสารในยุคดิจิทัล


Publication        :   วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 19 ปี 2559   Siam Communication Review Vol.15 No.19 2016

Link to Publication:  https://e-library.siam.edu/e-journal/article/siam-communication-review-vol15-no19-2016/

Bibliography     : ศิริชัย ศิริกายะ. (2559). ทฤษฎีควอนตัมฟิสิกส์กับการควบรวมและการแปลงรูปองค์ประกอบการสื่อสารในยุคดิจิทัล. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 7-9.


คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

Quick View

ทวิลักษณ์ในงานภาพกับลายลักษณ์อักษร ที่ซึ่งจินตนาการและสุนทรียภาพอุบัติพร้อม

 

[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ และ กฤษณ์ ทองเลิศ. (2560). ทวิลักษณ์ในงานภาพกับลายลักษณ์อักษร ที่ซึ่งจินตนาการและสุนทรียภาพอุบัติพร้อม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 7-10.[/mfn]   ทวิลักษณ์ในงานภาพกับลายลักษณ์อักษร ที่ซึ่งจินตนาการและสุนทรียภาพอุบัติพร้อม  Duality in Image-text Where Imagination and Aesthetic Simultaneously Appear

เจ้าของผลงาน       :  รศ.ดร.ศิริชัย  ศิริกายะ และ รศ.กฤษณ์ ทองเลิศ

บทคัดย่อ                :  ลักษณะทวิลักษณ์ (Duality) ของงานภาพกับลายลักษณ์อักษร เป็นคุณลักษณะของรูปสัญญะที่แสดงคุณสมบัติได้ทั้งสัญลักษณ์ภาพ (Figurative symbol) และสัญลักษณ์ทางภาษา (Discursive symbol) ในเวลาเดียวกัน ในทางตรงข้ามเมื่อการตีความข้ามพ้นไปจากจิตที่แบ่งแยกระหว่างระบบภาพและภาษา การรับรู้ความเป็นทวิลักษณ์จะเลือนหาย
ไปก่อเกิดเป็นมิติใหม่ที่ข้ามก้าวสถานการณ์ (Situation shift) ของการสื่อความหมาย สู่โลกของคุณค่าและสุนทรียภาพอันเป็นอุบัติการณ์ใหม่ กลายเป็นรูปลักษณ์ของงานการสื่อสารที่ “พ้นภาษา” ด้วยคุณลักษณะดังกล่าวจึงทำ ให้วิธีการตีความหมายแตกต่างไปจากจารีตทางการสื่อสารแบบเดิม  บทความนี้มุ่งเน้นการอธิบายลักษณะการประกอบสร้างและการตีความสารที่มองแบบระดับพื้นผิว จะเห็นว่ามีลักษณะทวิลักษณ์ โดยตั้งอยู่บนขอบเขตที่ไม่ชัดเจนระหว่างการสื่อความหมายผ่านไวยากรณ์ด้านภาพและภาษา ทั้งยังเป็นงานที่สื่อสารสนเทศร่วมกับจังหวะอารมณ์และความงามอย่างน่าสนใจ มีศักยภาพในการยั่วยวนให้คนดูเข้ามามีส่วนร่วมและแบ่งปันประสบการณ์เพื่อรังสรรค์คุณค่าและสุนทรียภาพที่มีพลังในการกระตุ้นปฏิสัมพันธ์ทางการสื่อสารได้ตรง
ใจคนแต่ละคน

คำสำคัญ                : ทวิลักษณ์, งานภาพกับลายลักษณ์อักษร, จินตนาการ, สุนทรียภาพ

Abstract              :  The duality of image-text is the co-existence of figurative and discursive symbols. As a result of this duality, the psychological interpretation has lost the perception of the duality of image and text. It is a situational shift of signification. The new aesthetical and original work values have suddenly appeared to a new form of communication work, and the new interpretation occurs. This article places an emphasis on describing the construction and interpretation of the duality of image-text. This is due to the ambiguity between the signification of image and language rules. It is also interesting by the ambiguity from the combination among information, emotion and beauty. Therefore, the seductive potential to the audience has occurred and in turn is, shared in order to create the experience. As a result, the power of stimulating the communicative interactions occurs. This advertising work has creative and aesthetic values. Finally, it tactiles to the minds of each individual person.

Keywords           : Duality, Image-text, Imagination, Aesthetic

Download PDF :  ทวิลักษณ์ในงานภาพกับลายลักษณ์อักษร ที่ซึ่งจินตนาการและสุนทรียภาพอุบัติพร้อม


Publication        :   วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 21 ปี 2560   Siam Communication Review Vol.16 N21 2017

Link to Publication:  https://e-library.siam.edu/e-journal/article/siam-communication-review-vol16-no21-2017/

Bibliography     :  ศิริชัย ศิริกายะ และ กฤษณ์ ทองเลิศ. (2560). ทวิลักษณ์ในงานภาพกับลายลักษณ์อักษร ที่ซึ่งจินตนาการและสุนทรียภาพอุบัติพร้อม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 7-10.


คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

Quick View

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 10 ปี 2553

  1. แนวทางการศึกษาการสื่อความหมายของงานภาพจิตรกรรมฝาผนังไทย

กฤษณ์ ทองเลิศ


2. การกำกับความหมายของแผนที่ท่องเที่ยวทางอินเทอร์เน็ต

อารีรัตน์ แพทย์นุเคราะห์


3. การสื่อความหมายด้วยท่าเต้นประกอบเพลงจากรายการโทรทัศน์

ธิดา วารีแสงทิพย์


4. การสร้างภาพตัวแทนด้วยการแต่งหน้าเพื่อสื่อความหมายลักษณะตัวละครของละครโทรทัศน์ไทย

กฤษณ์ คำนนท์


5. การศึกษาพฤติกรรมและปัญหาการสื่อสารภายในองค์กรของผู้บริหาร อาจารย์และเจ้าหน้าที่ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

กุลธิดา ธรรมวิภัชน์, เสกสรรค์ แย้มพินิจ และ นิลุบล แหยมอุบล


6. การรับรู้ภาพลักษณ์มหาวิทยาลัยสยามของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในพื้นที่ฝั่งธนบุรี

ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง


7. หน้าที่ของสื่อบนเที่ยวบินระยะไกลของบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน)

ทยา จันทนชาติ


8. การแบ่งเขตพื้นที่ให้บริการกิจการที่ไม่ใช้คลื่นความถี่กิจการโทรทัศน์ที่มีการบอกรับสมาชิก (เคเบิลทีวี)

ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ, เพ็ญพักตร์ เตียวสมบูรณ์กิจ และ จารุพร เลิศพิสัณห์


9. วิจารณ์หนังสืออรรถรสที่สิ้นสูญ : The Lost Symbol

กุลชาติ ศรีโพธิ์


10. วิจารณ์บทความการสื่อความหมายของงานภาพจิตรกรรมฝาผนังไทย

ศรีสกุล ธรรมสุรัติ


วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 10 ปี 2553 Siam Communication Review Vol10 No10 2010

Quick View

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 11 ปี 2553

  1. คุณค่าความถูกต้องและแก่นจินตนาการของผู้รับสารที่มีต่อภาพถ่ายเชิงสารคดีท่องเที่ยวแนวทะเล

กฤษณ์ ทองเลิศ


2. The Odyssey of Elephant: Contemporary Images and Representation

รัฐพล ไชยรัตน์


3. การสื่อความหมายเชิงสัญญะของการสื่อสารเชิงกราฟิกในรายการข่าวโทรทัศน์ไทย

ชินกฤต อุดมลาภไพศาล


4. การสื่อสารเชิงกราฟิกในรายการถ่ายทอดสดการแข่งขันกีฬาทางสื่อโทรทัศน์

กฤษกร ไสยกิจ


5. การสื่อความหมายเกี่ยวกับสัญลักษณ์บ่งชี้ทางภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวของงานภาพถ่ายแฟชั่นในนิตยสารท่องเที่ยวไทย

กฤษณีกร เจริญกุศล


6. พฤติกรรมการใช้จ่ายและความพึงพอใจในการเปิดรับสื่อเพื่อการสื่อสาร การตลาด ของผู้ใช้บริการสตูดิโอถ่ายภาพ Pre-Wedding ในเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

กุลธิดา ธรรมวิภัชน์ และ จิตติพร วรรธนะพิศิษฎ์


7. การใช้สื่ออินเตอร์เน็ตกับทุนทางสังคมของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร

นรินทร์ นำเจริญ, วาลี ขันธุวา, นาฏยา พิลางาม และ องอาจ สิงห์ลำพอง


8. พฤติกรรมและความพึงพอใจในการเปิดรับรายการประเภทข่าวการเมืองทางสื่อโทรทัศน์ช่อง 9 ของประชาชนในเมืองและชนบทจังหวัดสุราษฎร์ธานี

กุลธิดา ธรรมวิภัชน์ และ สุภาษิต นวลเศษ


9. การกำหนดกรอบเนื้อหาของหนังสือพิมพ์รายวันเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี พ.ศ.2551

ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์


10. แนวโน้มการประชาสัมพันธ์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ.2554-2563)

จารุพร เลิศพิสัณห์, สุภาพร ศรีสัตตรัตน์, กัลยกร นรภัทรทวีพร และ พลอยชนก แสนอาทิตย์


11. การบริหารกองถ่ายทำภาพยนตร์ไทย กรณีศึกษาผู้กำกับภาพยนตร์ที่เป็นศิลปินตลก

สมคเน วรวิวัฒน์


12. วิจารณ์หนังสือ ”หลักการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ รองศาสตราจารย์ วิมลพรรณ อาภาเวท”

กัลยกร นรภัทรทวีพร


13. วิจารณ์หนังสือ”ศาสตร์การเขียน : ดร.สุทิติ ขัตติยะ”

สุปรียา กลิ่นสุวรรณ


14. วิจารณ์หนังสือ “การเขียนสร้างสรรค์เชิงวารสารศาสตร์ : ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ปราณี สุรสิทธิ์”

ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์


15. วิจารณ์ “หนังสือการเขียนสารคดีภาคปฏิบัติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธัญญา สังขพันธานนท์”

สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์


วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 11 ปี 2553 Siam Communication Review Vol10 No11 2010

Quick View

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 12 ปี 2555

[mfn]ปิยะศักดิ์ ชมจันทร์. (2555). ประเด็นปัญหาจากการเปลี่ยนผ่านสู่โทรทัศน์ระบบดิจิทัลของประเทศไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 6-12.[/mfn]   ประเด็นปัญหาจากการเปลี่ยนผ่านสู่โทรทัศน์ระบบดิจิทัลของประเทศไทย 

ปิยะศักดิ์ ชมจันทร์


[mfn]เกศินี บัวดิศ. (2555). โครงสร้างการบริหารการจัดการสื่อสมัยใหม่. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 13-18.[/mfn]   โครงสร้างการบริหารการจัดการสื่อสมัยใหม่

เกศินี บัวดิศ


[mfn]ภัสรา พงษ์สุขเวชกุล. (2555). เทคโนโลยีสื่อใหม่กับการสื่อสารในครอบครัวในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 19-35.[/mfn]   เทคโนโลยีสื่อใหม่กับการสื่อสารในครอบครัวในเขตกรุงเทพมหานคร

ภัสรา พงษ์สุขเวชกุล


[mfn]ฐานทัศน์ ชมภูพล. (2555). การเปิดรับข่าวสาร ความคิดเห็น และการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางของผู้บริโภคผ่านสื่อออนไลน์. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 36-59.[/mfn]   การเปิดรับข่าวสาร ความคิดเห็น และการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางของผู้บริโภคผ่านสื่อออนไลน์

ฐานทัศน์ ชมภูพล


[mfn]ธีรวันท์ โอภาสบุตร. (2555). ชื่อเสียงองค์กรมีได้เพียงหนึ่งเดียว หรือมีได้มากกว่าหนึ่งชื่อเสียง. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 60-85.[/mfn]   ชื่อเสียงองค์กรมีได้เพียงหนึ่งเดียว หรือมีได้มากกว่าหนึ่งชื่อเสียง

ธีรวันท์ โอภาสบุตร


[mfn]เกศินี บัวดิศ. (2555). ภาพลักษณ์กับทิศทางเพื่อการประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 86-94.[/mfn]   ภาพลักษณ์กับทิศทางเพื่อการประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย

เกศินี บัวดิศ


[mfn]สุนทรี อาภานุกูล และ จุฑา ติงศภัทิย์. (2555). การศึกษากลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ของการแข่งขันเทนนิส พีทีที ไทยแลนด์ โอเพ่น 2553. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 95-106.[/mfn]   การศึกษากลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ของการแข่งขันเทนนิส พีทีที ไทยแลนด์ โอเพ่น 2553

สุนทรี อาภานุกูล และ จุฑา ติงศภัทิย์


[mfn]เอกสิทธิ์ อวยชัยวัฒน์. (2555). กลยุทธ์การโฆษณาหาเสียงเลือกตั้งของพรรคการเมืองไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 107-121.[/mfn]   กลยุทธ์การโฆษณาหาเสียงเลือกตั้งของพรรคการเมืองไทย

เอกสิทธิ์ อวยชัยวัฒน์


[mfn]ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง และ ธนัช นนท์ขุนทด. (2555). การสื่อสารมวลชนของกัมพูชา และเวียดนาม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 122-127.[/mfn]   การสื่อสารมวลชนของกัมพูชา และเวียดนาม

ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง และ ธนัช นนท์ขุนทด


[mfn]สุริยะ ฉายะเจริญ. (2555). สัญลักษณ์ของธงชาติไทยในศิลปะร่วมสมัย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 128-149.[/mfn]   สัญลักษณ์ของธงชาติไทยในศิลปะร่วมสมัย

สุริยะ ฉายะเจริญ


[mfn]กิตติธัช ศรีฟ้า. (2555). สัญลักษณ์อุณาโลมการสื่อความความหมายของสัญลักษณ์จากอดีตสู่ปัจจุบัน. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 150-158.[/mfn]   สัญลักษณ์อุณาโลมการสื่อความความหมายของสัญลักษณ์จากอดีตสู่ปัจจุบัน

กิตติธัช ศรีฟ้า


[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ, ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง, สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์ และ ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์. (2555). การใช้สื่อออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2553. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 159-164.[/mfn]   การใช้สื่อออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2553

ศิริชัย ศิริกายะ, ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง, สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์ และ ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์


[mfn]สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์. (2555). บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคเหนือ). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 165-168.[/mfn]   บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคเหนือ)

สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์


[mfn]สุปรียา กลิ่นสุวรรณ. (2555). บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคใต้). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 169-170.[/mfn]   บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคใต้)

สุปรียา กลิ่นสุวรรณ


[mfn]ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์. (2555). บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (กรุงเทพมหานคร). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 171-173.[/mfn]   บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (กรุงเทพมหานคร)

ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์


[mfn]กัลยกร นรภัทรทวีพร. (2555). บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคกลาง). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 174-175.[/mfn]   บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคกลาง)

กัลยกร นรภัทรทวีพร


วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 12 ปี 2555 Siam Communication Review Vol11 No12 2012

Quick View

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 13 ปี 2556

[mfn]เวทิต ทองจันทร์. (2556). ปรสิตทางการสื่อสารและการแปลความหมายภาพถ่ายในยุคนวนิยมกับการสร้างสรรค์ภาพถ่ายดิจิทัลบนหน้าปก Facebook.com. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 8-16.[/mfn]   ปรสิตทางการสื่อสารและการแปลความหมายภาพถ่ายในยุคนวนิยมกับการสร้างสรรค์ภาพถ่ายดิจิทัลบนหน้าปก Facebook.com

เวทิต ทองจันทร์


[mfn]สุเทพ เดชะชีพ และ จักรีรัตน์ แสงวารี. (2556). การประชาสัมพันธ์บนสื่อสังคมออนไลน์ในยุคเว็บ 3.0. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 17-26.[/mfn]   การประชาสัมพันธ์บนสื่อสังคมออนไลน์ในยุคเว็บ 3.0

สุเทพ เดชะชีพ และ จักรีรัตน์ แสงวารี


[mfn]อิทธิพล ประเสริฐสังข์์. (2556). การสื่อสารการตลาดบนเฟสบุ๊คของอุปกรณ์สื่อสารแบบพกพาของแอปเปิ้ลและซัมซุง. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 27-36.[/mfn]   การสื่อสารการตลาดบนเฟสบุ๊คของอุปกรณ์สื่อสารแบบพกพาของแอปเปิ้ลและซัมซุง

อิทธิพล ประเสริฐสังข์์


[mfn]สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์. (2556). ช่องทางการเรียนการสอนบนสื่อสังคมออนไลน์ของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 37-42.[/mfn]   ช่องทางการเรียนการสอนบนสื่อสังคมออนไลน์ของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์


[mfn]สุริยะ ฉายะเจริญ (2556). ผลงานดิจิทัลอาร์ตจากงานวิจัยกรณีศึกษาผลงานสร้างสรรค์จากการสันนิษฐานรูปลักษณ์โบราณสถาน. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 43-47.[/mfn]   ผลงานดิจิทัลอาร์ตจากงานวิจัยกรณีศึกษาผลงานสร้างสรรค์จากการสันนิษฐานรูปลักษณ์โบราณสถาน 

สุริยะ ฉายะเจริญ


[mfn]ศศิพรรณ บิลมาโนช. (2556). การใช้วิธีการสื่อสารชุมชนในการพัฒนาชุมชนเชียงแสนเป็นเมืองมรดกโลก. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 48-55.[/mfn]   การใช้วิธีการสื่อสารชุมชนในการพัฒนาชุมชนเชียงแสนเป็นเมืองมรดกโลก

ศศิพรรณ บิลมาโนช


[mfn]ศุภศิลป์ กุลจิตต์เจือวงศ์. (2556). การพัฒนาวิทยุโทรทัศน์ไทยสู่ความเป็นมาตรฐานในระดับสากล : ศึกษาเชิงเปรียบเทียบบรรษัทกิจการการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งประเทศอังกฤษ. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 56-63.[/mfn]   การพัฒนาวิทยุโทรทัศน์ไทยสู่ความเป็นมาตรฐานในระดับสากล : ศึกษาเชิงเปรียบเทียบบรรษัทกิจการการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งประเทศอังกฤษ

ศุภศิลป์ กุลจิตต์เจือวงศ์


[mfn]ยุทธนา สุวรรณรัตน์. (2556). องค์ประกอบด้านความสนุกในรายการควิชโชว์ : ทัศนะสังเคราะห์จากผู้ผลิตและผู้ชม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 64-73.[/mfn]   องค์ประกอบด้านความสนุกในรายการควิชโชว์ : ทัศนะสังเคราะห์จากผู้ผลิตและผู้ชม

ยุทธนา สุวรรณรัตน์


[mfn]ณัชชา ศิรินธนาธร และ อมรรัตน์ ทิพย์เลิศ. (2556). ทุนชุมชน การสั่งสมทุนเพื่อการดำรงอยู่ของหอกระจายข่าวสาร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 74-93.[/mfn]   ทุนชุมชน การสั่งสมทุนเพื่อการดำรงอยู่ของหอกระจายข่าวสาร

ณัชชา ศิรินธนาธร และ อมรรัตน์ ทิพย์เลิศ


[mfn]วนิดา วินิจจะกูล. (2556). ความรับผิดชอบทางสังคมกับการแสวงหากำไรของธุรกิจ : กรณีศึกษา บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 94-100.[/mfn]   ความรับผิดชอบทางสังคมกับการแสวงหากำไรของธุรกิจ : กรณีศึกษา บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน)

วนิดา วินิจจะกูล


[mfn]ปวรรศ จันทร์เพ็ญ. (2556). กลยุทธ์ใหม่กับโฆษณาแฝงในปัจจุบัน. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 101-107.[/mfn]   กลยุทธ์ใหม่กับโฆษณาแฝงในปัจจุบัน

ปวรรศ จันทร์เพ็ญ


[mfn]เมตตา ดีเจริญ. (2556). การพัฒนารูปแบบการจัดรายการหอกระจายข่าวเพื่อสนองตอบตามความต้องการของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลลาดบัวขาว อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 108-116.[/mfn]   การพัฒนารูปแบบการจัดรายการหอกระจายข่าวเพื่อสนองตอบตามความต้องการของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลลาดบัวขาว อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา

เมตตา ดีเจริญ


[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ และ เจตน์จันทร์ เกิดสุข. (2556). ภาพฝังใจของประชาชนที่มีต่อตำรวจในเขตพื้นที่ บก.น.9. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 117-125.[/mfn]   ภาพฝังใจของประชาชนที่มีต่อตำรวจในเขตพื้นที่ บก.น.9

ศิริชัย ศิริกายะ และ เจตน์จันทร์ เกิดสุข


[mfn]อนรรฆอร บุธมัธนานนท์. (2556). การสื่อสารแบบอัตตการสื่อสารผ่านกระบวนการสร้างสรรค์ละครเวทีประเภทตลกขบขัน เรื่อง สามสาวทรามทราม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 126-138.[/mfn]   การสื่อสารแบบอัตตการสื่อสารผ่านกระบวนการสร้างสรรค์ละครเวทีประเภทตลกขบขัน เรื่อง สามสาวทรามทราม

อนรรฆอร บุธมัธนานนท์


[mfn]เจตน์จันทร์ เกิดสุข. (2556). วิจารณ์หนังสือ “10 บทความต้องอ่าน โดย Harvard Business Review) เรื่อง การสื่อสาร”. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 139-.[/mfn]   วิจารณ์หนังสือ “10 บทความต้องอ่าน โดย Harvard Business Review) เรื่อง การสื่อสาร”

เจตน์จันทร์ เกิดสุข


 

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 13 ปี 2556 Siam Communication Review Vol12 No13 2013

Quick View