วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม-ปีที่9-ฉบับที่2-พค-สค-2558

ปัจจัยนำการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ และผลการดำเนินงานองค์การ

[mfn]สมพร ปานยินดี. (2558). ปัจจัยนำการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ และผลการดำเนินงานองค์การ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 9(2), 47-58.[/mfn]   ปัจจัยนำการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ และผลการดำเนินงานองค์การ: Antecedents to Entrepreneurial Orientation and Impact on Firm Performance

สมพร ปานยินดี


ผลงานวิชาการ ดร.สมพร ปานยินดี – Somporn Panyindee

Quick View

ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและภูมิอากาศต่อการชะล้างพังทลายของดินลุ่มนํ้ายมตอนบน

 

ชื่อบทความวิจัย     :  ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและภูมิอากาศต่อการชะล้างพังทลายของดินลุ่มนํ้ายมตอนบน: Impact of Land Use and Climate Change on Soil Erosion in the Upper Part of Yom River Basin

เจ้าของผลงาน       :  ผศ.ดร.พีรวัฒน์ ปลาเงิน                 
เจ้าของผลงานร่วม:  ผศ.ดร.สานิตย์ดา เตียวต๋อย, และ ดร.สมพินิจ เหมืองทอง
หน่วยงาน               :  ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

คำอธิบาย               : บทคัดย่อ

คำสำคัญ                :   การชะล้างพังทลายของดิน การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ลุ่มนํ้ายมตอนบน


Publication: วารสารวิชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ปีที่ 13 2558 CRMA Journal Vol. 13 2015

Link to Publication:  http://veel.crma.ac.th/Journal/PArticle/ShowPArticleTable.aspx?YearBuddFrom=P2aef7WmJ0w%3d

Bibliography  : พีรวัฒน์ ปลาเงิน, สานิตย์ดา เตียวต๋อย, และ สมพินิจ เหมืองทอง. (2558). ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและภูมิอากาศต่อการชะล้างพังทลายของดินลุ่มนํ้ายมตอนบน วารสารวิชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, 13, 65-78.


Quick View

ผลของชนิดและปริมาณไบโอพอลิเมอร์ต่อลักษณะเกาะติดของเนื้อสัมผัสในผลิตภัณฑ์มะขามแก้ว

 

Title              :  ผลของชนิดและปริมาณไบโอพอลิเมอร์ต่อลักษณะเกาะติดของเนื้อสัมผัสในผลิตภัณฑ์มะขามแก้ว : Influence of Biopolymer Types and Contents on Stickiness Behavior of Tamarind Paste

Researcher       :  สุพรรณี คัมภีร์บูรณา, กนกวรรณ เกียรติไทยยนต์, ธัญญาภรณ์ ศิริเลิศ และ ณัฏฐิกา ศิลาลาย
Supannee Kampeeburana, Kanokwan Kheatthaiyon, Tunyaporn Sirilert and Nattiga Silalai

Department     :  ภาควิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

E-mail                :  nattiga.sil@siam.edu

บทคัดย่อ             :  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีการใช้น้ำตาลเป็นส่วนประกอบหลัก มักพบปัญหาเรื่องความเหนียวและการเกาะติดกันเป็นก้อนที่ผิวของอาหาร เนื่องจากสมบัติการดูดความชื้นอย่างรวดเร็วของน้ำตาล ซึ่งผลิตภัณฑ์มะขามแก้วจัดเป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งที่มักพบปัญหาการเกาะติดกันของผลิตภัณฑ์ที่มีสาเหตุมาจากการดูดซับน้ำของน้ำตาลทรายที่เป็นส่วนผสมหลัก สารไบโอพอลิเมอร์ เช่น สตาร์ช และมอลโตเด็กซ์
ตริน ถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวางในการปรับปรุงคุณลักษณะเนื้อสัมผัสและลดการเกาะติดกันของผลิตภัณฑ์ ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้มีการเติมสารไบโอพอลิเมอร์ลงไปผสมในกระบวนการผลิต เพื่อลดการเกาะติดกันของผลิตภัณฑ์ วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือศึกษาการใช้มอลโตเด็กซ์ตริน (Dextrose equivalent; DE-10) และแป้งข้าวโพดเป็นส่วนผสมในกระบวนการผลิตด้วยสัดส่วนต่างๆ โดยการดัดแปลงสูตรดั้งเดิม
แล้วนำไปทดสอบลักษณะทางประสาทสัมผัสด้วยวิธี 5-Point hedonic scale พบว่า การเติมมอลโตเด็กซ์ตรินและแป้งข้าวโพดส่งผลต่อคุณลักษณะและเนื้อสัมผัสของผลิตภัณฑ์มะขามแก้วซึ่งผลการทดสอบลักษณะทางประสาทสัมผัสสามารถนำไปหาปริมาณสัดส่วนขององค์ประกอบที่ใช้ในการผลิตด้วยวิธี Mixture Design พบว่าสูตรที่ประกอบด้วยน้ำตาลทราย (X1 = 75-85%) : แป้งข้าวโพด (X2 = 10-15%) :
มอลโตเด็กซ์ตริน (X3 = 5-10%) เป็นสูตรที่เหมาะสมในการนำมาผลิตเพื่อใช้ในการศึกษาผลของสารไบโอพอลิเมอร์ต่อคุณลักษณะเนื้อสัมผัสการเกาะติดกันของผลิตภัณฑ์ โดยการใช้ 5-hedonic scale ผลจากการวิเคราะห์พบว่าสูตรที่ประกอบด้วยน้ำตาลทราย (82.5%) แป้งข้าวโพด (12.5%) และมอลโตเด็กซ์ตริน (5%) มีเนื้อสัมผัสที่ดีและสามารถลดความเหนียวที่ผิวรวมถึงการเกาะติดกันได้ดีที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับสูตรควบคุม จากนั้นนำตัวอย่างที่ได้ไปศึกษาผลของสารไบโอพอลิเมอร์ต่อการระเหยน้ำของผลิตภัณฑ์ในระหว่างการกวน (Drying curve) โดยให้ระดับความแรงของไฟคงที่ตลอดระยะเวลาในการกวน ทำการเปรียบเทียบกับสูตรดั้งเดิม พบว่า ปริมาณน้ำของสูตรที่มีการเติมสารไบโอพอลิเมอร์จะลดลงน้อยกว่าสูตรควบคุม ณ เวลาเดียวกัน โดยมีความชื้น 10.86% (w/w) ขณะที่สูตรควบคุมมีความชื้นเท่ากับ 17.01% (w/w) ซึ่งสอดคล้องกับค่า Water activity ของสูตรที่มีการเติมสารไบโอพอลิเมอร์และสูตรควบคุมที่มีค่าเท่ากับ 0.53±0.14 และ 0.63±0.39 ตามลำดับชี้ให้เห็นว่าสารไบโอพอลิเมอร์ที่เติมลงไปมีผลช่วยในการอุ้มน้ำไว้ภายในโครงสร้างเพื่อลดการสูญเสียน้ำออกมาที่ผิวระหว่างการผลิตและการเก็บรักษา

คําสําคัญ             :  มะขาม การเกาะติดกัน มอลโตเด็กซ์ตริน แป้งข้าวโพด

Abstract            :  Stickiness and adhesion at particle surfaces are often found in sugar-rich foods due to hygroscopic properties of sugar. Sugar, is a main ingredient in tamarind candy, causes stickiness problem at surface. Biopolymer such as starch and maltodextrin have been used extensively to improve texture and reduce the adhesion characteristics of the products. In this study, biopolymers (maltodextrin DE-10 and corn starch) were used to add with different ratios into the products during the process to reduce surface stickiness of Tamarind candy product. All samples were evaluated by panelists using the 5-Point hedonic scale. Proportion of the components used in the process was determined by Mixture Design Method, which indicated 4 formula consisting of sugar (X1 = 75-85%) : corn (X2 = 1 0 -1 5 % ) : maltodextrin (X3 = 5-10%). These levels of components were use to study effect of biopolymer on appearance, color, texture and overall acceptability of product with 5-Point hedonic scale again. In the present study, it indicated that a proportion of sugar : corn flour : maltodextrin (82.5% : 12.5% : 5%) was the best formula used for production and compared to control group. Then, the best formula was used to study drying curve (loss of moisture content) during the process. Moisture content and water activity (aw) of sample and control samples decreased significantly during heating; however, moisture content and aw of the treatment were lower than the control at the same time of heating. Moisture content of the treatment was 10.86% (w/w), while moisture content of the control was 17.01% (w/w). This was agreed with the aw results. The aw of the treatment and the control was 0.53±0.14 0.63±0.39, respectively. Therefore, addition biopolymers such corn flour and maltodextrin could increase water holding capacity resulting in a decrease of moisture loss on particle surface of products during processing and storage.

Keywords        :    Tamarind; Stickiness; Maltodextrin; Corn flour


Proceeding       : รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 3  ASTC 2015: The 3rd Academic Science and Technology Conference 2015 “วิทยาศาสตร์เพื่อความสุข: จากงานวิจัยพื้นฐานสู่การค้าเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในอนาคต” (Science for Happiness: from basic research to commerce toward future sustainable development) วันพฤหัสบดีที่ ๒๘- วันศุกร์ที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๘  ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กรุงเทพมหานคร ผู้จัดหลัก: คณะวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

Link to Proceeding:    https://www.astcconference.com/page/proceedings#astc-content

Bibliography     :    สุพรรณี คัมภีร์บูรณา, กนกวรรณ เกียรติไทยยนต์, ธัญญาภรณ์ ศิริเลิศ และ ณัฏฐิกา ศิลาลาย. (2558). ผลของชนิดและปริมาณไบโอพอลิเมอร์ต่อลักษณะเกาะติดของเนื้อสัมผัสในผลิตภัณฑ์มะขามแก้ว. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 3 “วิทยาศาสตร์เพื่อความสุข: จากงานวิจัยพื้นฐานสู่การค้าเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในอนาคต” (หน้า 507-514). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

Quick View

ระบบรักษาความปลอดภัยในบ้านแจ้งผ่านมือถือ (2558)

 

Title              :  ระบบรักษาความปลอดภัยในบ้านแจ้งผ่านมือถือ : Resident Security System via Mobile Devices

Researcher       : ไวยพจน์ ศุภบวรเสถียร วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ และ ฐปนนท์ สุกุล

Department     :  ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
E-mail                :   vyapotes@hotmail.com, nwipavan@gmail.com

บทคัดย่อ             :  บทความนี้ นำเสนอระบบรักษาความปลอดภัยในบ้านแจ้งผ่านมือถือควบคุมด้วยเครื่องบันทึกภาพ หลักการทำงานของระบบนี้คือ ระบบเตือนภัยตรวจสอบการทำงานประกอบด้วย ตัวตรวจจับประตู และอุปกรณ์ตรวจจับควัน โดยเครื่องบันทึกภาพรอรับคำสั่งจากตัวตรวจจับ เมื่อมีสัญญาณเตือนแจ้งเข้ามายังเครื่องบันทึกภาพแล้วเครื่องบันทึกภาพทำการส่งข้อมูลแจ้งเตือนไปยังมือถือผู้ใช้งานที่แจ้งเตือนผ่านระบบอีเมลล์ และสามารถดูภาพจากกล้องวงจรปิดเมื่อเกิดเหตุการณ์ต่างๆ ขึ้นได้ทันทีโดยผ่านโทรศัพท์มือถือ ซึ่งการออกแบบและสร้างระบบนี้ได้ทำการทดสอบ โดยผลการทดสอบ แสดงให้เห็นถึงการทำงานที่ใช้งานได้จริง

คำสำคัญ             :  ระบบรักษาความปลอดภัย โทรศัพท์มือถือ บ้านพักอาศัย

Abstract            :  This paper presents the resident security system via mobile phone controlled by a digital video recorder (DVR). Principle of the system composes of a door sensor and a smoke detector. They have sent data to the DVR when the signals alarm to it. It can be alerted via E-mail in the mobile. The pictures from the DVR camera are displayed through the mobile phone when an event happens immediately. The design and construction of the system is tested as shown that the results demonstrate the valid works.

Keywords         :  security system, mobile phone, resident

Download PDF:  ระบบรักษาความปลอดภัยในบ้านแจ้งผ่านมือถือ


Proceeding       :  การประชุมวิชาการระดับชาติ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ประจำปี 2558 วันที่ 24-25 กรกฎาคม 2558 มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา APHEIT Conference 2015                               

Link to Proceeding:    http://apheitconference.siam.edu/index.php/en/proceedings-2012-2016


Bibliography    :  ไวยพจน์ ศุภบวรเสถียร, วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ และ ฐปนนท์ สุกุล. (2558). ระบบรักษาความปลอดภัยในบ้านแจ้งผ่านมือถือ. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ประจำปี 2558 (หน้า 333-343). สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่. 


Quick View

รูปแบบการจัดการศึกษาทางเลือก เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

[mfn]โสภณ ชัยวัฒนกุลวานิช และ ชนิตา รักษ์พลเมือง. (2558). รูปแบบการจัดการศึกษาทางเลือก เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา, 9(1), 192-201.[/mfn]   รูปแบบการจัดการศึกษาทางเลือก เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

โสภณ ชัยวัฒนกุลวานิช และ ชนิตา รักษ์พลเมือง


Professor Emeritus Dr.Chanita Rukspollmuang

Quick View

รูปแบบความร่วมมือในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

[mfn]ชนิตา รักษ์พลเมือง, สนานจิตร สุคนธทรัพย์ และ อุบลวรรณ หงส์วิทยากร. (2558). รูปแบบความร่วมมือในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 7(13), 47-62.[/mfn]   รูปแบบความร่วมมือในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ชนิตา รักษ์พลเมือง, สนานจิตร สุคนธทรัพย์ และ อุบลวรรณ หงส์วิทยากร


 Professor Emeritus Dr.Chanita Rukspollmuang

Quick View
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์-มหาวิทยาลัยสยาม

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 16 ปี 2558

1. ข้อเสนอแนะประเด็นการสื่อสารเพื่องานวิจัยนิเทศศาสตร์ตามแนวคิด “ปฏิปักษ์สัมพันธ์ ”(Symbiosis)ในยุคดิจิทัล
ศิริชัย ศิริกายะ


2. กระบวนการสร้างสรรค์ภาพวาดเส้นชุด “มะนิลา 2557”
สุริยะ ฉายะเจริญ


3 . การสร้างสรรค์งานภาพถ่ายทางอากาศสำหรับภาพยนตร์โฆษณาอสังหาริมทรัพย์
เวทิต ทองจันทร์


4 . สื่อสังคมออนไลน์เครื่องมือการสื่อสารภาวะวิกฤตในยุคดิจิทัล
กัลยกร นรภัทรทวีพร


5 . พลังแห่งการประชาสัมพันธ์ในการสร้างความแข็งแกร่งให้วัฒนธรรมองค์กร : สืบสาน สอดส่องประสานความเข้าใจในสภาวะการเปลี่ยนแปลง
ธีรวันทร์ โอภาสบุตร


6 . การสื่อสารด้วยลายเส้นเพื่อบ่งบอกถึงลักษณะดีหรือร้ายของตัวการ์ตูนเฉพาะเรื่องที่คัดสรร
ลัทธสิทธิ์ ทวีสุข


7 . ความลงตัวของสื่อและสารในรายการคลับ ฟรายเดย์
ยุทธนา สุวรรณรัตน์


8 . จังหวะของการสื่อสารในรายการโทรทัศน์ประเภทเรียลลิตีเกมส์โชว์ที่คัดสรร
เจตน์จันทร์ เกิดสุข


9 . การศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อโฆษณา ณ จุดซื้อและการตัดสินใจซื้อขนมขบเคี้ยวของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร
กุลธิดา ธรรมวิภัชน์
พรรษา เอกพรประสิทธิ์
ภัชธีญา อ่วมอารีย์


10. ปัจจัยเรื่องการรับรู้ประโยชน์จากการใช้งานเฟสบุ๊กแฟนเพจที่มีต่อการมีส่วนร่วมและการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคคนไทย
วสุพล ตรีโสภากุล
ดุษฎี โยเหลา


11. การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติเพื่อป้องกันสถานการณ์ “คุณแม่วัยใส”
ทัศนีย์ ดำเกิงศักดิ์


12. ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาศักยภาพผู้สื่อข่าวสำนักข่าวไทยของสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ในการเข้าสู่ทีวีดิจิทัล
สกนธ์ จินดาวรรณ


13. พฤติกรรมและความพึงพอใจในการเปิดรับฟังสถานีวิทยุจราจรเพื่อสังคม FM 99.5 MHz ของผู้ขับรถแท็กซี่ในเขตกรุงเทพมหานคร
ฉัตรพัฒน์ บุญมาก
ธนชาติ จันทร์เวโรจน์


14. พฤติกรรมการเปิดรับการรายงานข่าวพยากรณ์อากาศของสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยที่มีผลต่อทัศนคติและการนำข้อมูลข่าวสารไปใช้ประโยชน์
อภิสิทธิ์ จันทร์เต็ม
จินตวีร์ เกษมศุข


15. พฤติกรรมการเปิดรับชมและองค์ประกอบของรายการที่มีผลต่อการอยู่รอดของ ทีวีดิจิทัลประเภทบริการธุรกิจ 24 ช่องในมุมมองของผู้ชมในเขตกรุงเทพมหานคร
น้ำฝน บำรุงศิลป์
พรทิพย์ เย็นจะบก


16. พฤติกรรมการเปิดรับสื่อและความพึงพอใจต่อสื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์ในองค์กรของพนักงานบริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด (สำนักงานใหญ่)
วิลาวัลย์ ศศิตราภรณ์
จินตวีร์ เกษมศุข


17. ปัจจัยการสื่อสารที่มีผลต่อการตัดสินใจติดตามเชียร์สโมสรบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
วรชาติ อดุลยานนท์
กาญจนา มีศิลปวิกกัย


18. ทัศนคติและความพึงพอใจของผู้ชมรายการชาติมั่งคงทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก
ปัณณชน ขัตติสร
กาญจนา มีศิลปวิกกัย


19. Book Review ‘เขียนไปให้สุดฝัน’
ชญาณี ฉลาดธัญญกิจ

Quick View
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์-มหาวิทยาลัยสยาม

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 17 ปี 2558

1. การทบทวนแนวคิด นิยาม และคุณลักษณะของดิจิทัลเนทีฟและดิจิทัลอิมมิแกรนท์
ศุภกร จูฑะพล
พัชนี เชยจรรยา


2. การออกแบบดิจิทัลคอนเทนท์เพื่อสร้างแรงจูงใจในการให้ทุนสนับสนุนโครงการภาพยนตร์แอนิเมชั่น
คมภิญญ์ เข็มกำเนิด


3 . การใช้คาแรคเตอร์การ์ตูนเพื่อสื่อสารทางอารมณ์และความรู้สึกกรณีศึกษาสติ๊กเกอร์ไลน์
สมเกียรติ ศรีเพ็ชร


4 . พฤติกรรมการรับชม ความพึงพอใจ ความต้องการรับชม กรณีศึกษา : ช่องชลบุรี 1
พิชญาภัค พ่วงมา


5 . กระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ “ดิ อะเมซิง เรซ, ฤดูกาลที่ 26, ตอนที่ 3”
ชโลธร จันทะวงศ์


6 . การสร้างสรรค์ภาพนิ่งเพื่อสื่อความเคลื่อนไหวแบบการแพนกล้อง
ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง


7 . การถ่ายภาพแบบแคนดิด คือ หนทางแห่งการบันทึกความบริสุทธิ์
กิตติธัช ศรีฟ้า


8 . ความรู้ในตราสินค้าและความคิดเห็นต่อตราสัญลักษณ์การไฟฟ้านครหลวงของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
เมธี ภู่ศรี


9 . ปัญหาและการแก้ปัญหางานประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภูมิภาคตะวันตก
ธนารีย์ สะสุนทร


10. พฤติกรรมการเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ ความรู้ความเข้าใจทัศนคติและพฤติกรรมการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นของเยาวชนในจังหวัดฉะเชิงเทรา
อรุณ คงดี


11. พฤติกรรมการเปิดรับ ทัศนคติ ปัจจัยสื่อสารทางการตลาดและการตัดสินใจลงโฆษณาในนิตยสารแจกฟรีในจังหวัดระยองของผู้มีอำนาจตัดสินใจซื้อโฆษณา
พิมลณัฐ ณัฐชยางยุทธ์


12. โฆษณากับการซื้อสินค้าของแรงงานต่างชาติในเขตภาษีเจริญ
เอกสิทธิ์ อวยชัยวัฒน์
ปวรรศ จันทร์เพ็ญ


13. การเปิดรับข่าวสาร พฤติกรรมการซื้อ ความคิดเห็น และการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อลดนํ้าหนักที่จำหน่ายผ่านสื่อออนไลน์ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
เสาวนีย์ เทพพนมรัตน์


14. พฤติกรรมการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตและส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อการควบคุมนํ้าหนักของประชากรในจังหวัดชลบุรี
จิฑามาส ไพรจิตรสุวรรณ


15. ทัศนคติ และความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในเขตจังหวัดชลบุรีที่มีต่อธนาคารกสิกรไทย จำกัด
อรวดี น้อยแก่น
ปริยา รินรัตนากร


16. การใช้วงจรควบคุมคุณภาพพีดีซีเอในการจัดทำหนังสือพิมพ์สยามเพรส (ภาควิชาการหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม)
สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์
ประกิจ อาษา
จารุณี วรรณศิริกุล


17. การวิเคราะห์วาทกรรมจาก “ข่าว กทม.” ในหนังสือพิมพ์รายวันที่เผยแพร่ช่วงการชุมนุมทางการเมืองของกลุ่ม กปปส.
รัฐเขต ปรีชล


18. การจัดการการสื่อสารเพื่อการจัดระเบียบชุมชนและสถานบันเทิงชุมชนคลองหก จังหวัดปทุมธานี
ณพนันท์ ขอจิตต์เมตต์


19. วิจารณ์หนังสือ “พลังแห่งการประชาสัมพันธ์” ของ รองศาสตราจารย์ รุ่งนภา พิตรปรีชา
ธีรวันท์ โอภาสบุตร

Quick View
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์-มหาวิทยาลัยสยาม

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 15 ฉบับ 18 ปี 2559

1.  ห้องหุ่น: ศิลป์แห่งบทละครที่ไม่จางหาย The Study of HongHoon: The Unfailing Art of Play Script Writing

วรสิริ วัดเข้าหลาม

วรวุฒิ ทัดบรรทม


2.  การใช้สื่อเพื่อการเผยแพร่และส่งเสริมของสโมสรฟุตบอล พะเยาเอฟซี Using the Media for the Dissemination and Promotion of Phayao FC

ดิษฐา จำปาแขก


3.  รายการโทรทัศน์สำหรับเด็ก : บทบาทของสื่อเพื่อการเรียนรู้ของเด็ก? Children TV Programs: The Role of Media for Children’s Learning?

สุภาณี นิตย์เสมอ


4.  Changes in Space, Place and the Role of Thai Classical Puppet Theater “Joe Louis”

ชโลธร จันทะวงศ์


5. กระบวนการสร้างสรรค์ภาพจิตรกรรม: กรณีศึกษาจิตรกรรมร่วมสมัยนิทรรศการ “It’s me” The Process of Creating a Painting: A Case Study of Contemporary Painting Exhibition “It’s me”

สุริยะ ฉายะเจริญ


6.  การสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ “รายการ แอนิเมชั่นคลับ” ซีซัน 1The Creation of TV Program “Animation Club” Season

ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง

เจตน์จันทร์ เกิดสุข

ลัทธสิทธิ์ ทวีสุข


7.  การสร้างสรรค์สัญลักษณ์ในเครื่องแต่งกายตัวละคร กรณีศึกษาภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์ เรื่อง มหาศึกชิงบัลลังก์ The Symbolic Creation in Character’s Costume Case Study Television Series Game of Thrones

จุฑารัตน์ การะเกตุ


 

8.  กระบวนการสร้างสรรค์ลีลาท่าทางในการแสดงชุด “วิถีแห่งสุวรรณภูมิ”

วณิชชา ภราดรสุธรรม


9.  การสร้างสรรค์ภาพถ่ายความเร็วชัตเตอร์ต่ำ (Long Exposure) ด้วยฟิล์มกรองแสงติดรถยนต์ วัฒนา เจริญชัยนพกุล

จักรีรัตน์ แสงวารี


10.  การออกแบบแอปพลิเคชั่นเพื่อแนะนำการบริโภคผลไม้ไทย Digital Content Design for Teaching How to Consume Thai Tropical Fruits

เฉลิมพันธ์ ธโนปจัย


11.  การออกแบบสัญลักษณ์แสดงสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่สะท้อนผลิตภัณฑ์ 3 จังหวัดภาคเหนือ The Identity Design of Geographical Indication to Represent the Local Products of 3 Northern Provinces

ชนินาถ จองมั่นคง


12.  การรับรู้ข่าวสารและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมองค์กรเพื่อสังคม (CSR) ของพนักงานธนาคารไทยพาณิชย์จำกัด (มหาชน) Information Perception and Participation in Corporate Social Responsibility (CSR) of Employees at Siam Commercial Bank Public Company Limited

เพ็ญประภา วงศ์ทอง

ผศ.ดร.ศศิพรรณ บิลมาโนชญ์


13.  เลขนศิลป์เพื่อการนำเสนอบุคลิกสินค้าในสื่อสังคมออนไลน์ Visual Communication Design for Product Personality Represent in Social Media

อภินันท์ อินนุพัฒน์


14.  พฤติกรรมการสื่อสารและการใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสังคมออนไลน์ในการทำงานของผู้สื่อข่าวสำนักข่าวเนชั่น Communication Behaviors and Social Network Uses for Working of the Nation News Agency’s Reporters

ลินลดา กองเซ็น

ผศ.ดร.ศศิพรรณ บิลมาโนชญ์


15.  การพัฒนาการสื่อสารเพื่อส่งเสริมจิตสาธารณะนักศึกษามหาวิทยาลัยที่เลือกสรร Development of Communication to Enhance Service Mind of Selected University Students

สุภาภรณ์ แดงศรี

ดร.มนทิรา ธาดาอำนวยชัย


16.  กระบวนการผลิตเพลงประกอบภาพยนตร์โฆษณาขนมขบเคี้ยวที่คัดสรร
The Production Process of Score Soundtrack of Selected Snack Advertisements

กนกวรรณ พันสิทธิวรกุล

สุธี พลพงษ์


17.  การวิเคราะห์การออกแบบและสื่อความหมายบนบรรจุภัณฑ์ของขนมขบเคี้ยวที่คัดสรร Design and Meaning Communications Analysis of Selected Snack’s Packing

จันทราวรรณ บำเรอรักษ์

สุธี พลพงษ์


18.  อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อลูกค้าชาวมุสลิมในการใช้เฟชบุ๊ก เพื่อตัดสินใจใช้บริการ กรณีศึกษาร้านอาหารอิบติซาม

นักศึกษา มหาวิทยาลัยศรีปทุม


19.  วิจารณ์หนังสือ ‘หลักนิเทศศาสตร์’

อาจารย์พิชญาพร ประครองใจ, จารุณี วรรณศิริกุล

Quick View

วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่15 ลำดับที่31 ปี 2558

[mfn]พรรัตน์ พงษ์ประเสริฐ และ วิรุฬ ภิรมยาภรณ์. (2558). การคัดเลือกผู้รับเหมาก่อสร้างของผู้ประกอบการโครงการบ้านจัดสรรระดับราคา 1-4 ล้านบาท ในจังหวัดนนทบุรี. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 16(31), 1-12.[/mfn]   การคัดเลือกผู้รับเหมาก่อสร้างของผู้ประกอบการโครงการบ้านจัดสรรระดับราคา 1-4 ล้านบาท ในจังหวัดนนทบุรี
พรรัตน์ พงษ์ประเสริฐ และ วิรุฬ ภิรมยาภรณ์


[mfn]ศศรส ใจจิตร์ และ จุฑา พิชิตลำเค็ญ. (2558). การจัดลำดับความสำคัญของยาเมื่อมีเกณฑ์การตัดสินใจหลายเกณฑ์ด้วยตัวแบบมาร์คอฟ: กรณีศึกษา บริษัทตัวแทนจำหน่ายยาในประเทศ. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 16(31), 13-23.[/mfn]    การจัดลำดับความสำคัญของยาเมื่อมีเกณฑ์การตัดสินใจหลายเกณฑ์ด้วยตัวแบบมาร์คอฟ: กรณีศึกษา บริษัทตัวแทนจำหน่ายยาในประเทศ
ศศรส ใจจิตร์ และ จุฑา พิชิตลำเค็ญ


[mfn]สารัช ตันติกิตติ และ วิเชียร เปรมชัยสวัสดิ์. (2558). การบ่งชี้โรคไข้เลือดออกเดงกีจากเม็ดเลือดขาวโดยเทคนิคเอสวีเอ็ม. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 16(31), 24-33.[/mfn]    การบ่งชี้โรคไข้เลือดออกเดงกีจากเม็ดเลือดขาวโดยเทคนิคเอสวีเอ็ม
สารัช ตันติกิตติ และ วิเชียร เปรมชัยสวัสดิ์


[mfn]สุรเชรษฐ์ สีชำนาญ และ ธีรพัฒน์ ชมภูคำ. (2558). การศึกษาการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของตัวเก็บรังสีอาทิตย์แบบโฟโตโวลตาอิกที่ติดตั้งท่อความร้อน. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 16(31), 34-52.[/mfn]    การศึกษาการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของตัวเก็บรังสีอาทิตย์แบบโฟโตโวลตาอิกที่ติดตั้งท่อความร้อน
สุรเชรษฐ์ สีชำนาญ และ ธีรพัฒน์ ชมภูคำ


[mfn]ศิวรินทร์ คันธิก และ มนูญ มาศนิยม. (2558). การสร้างแบบจำลองระบบขนส่ง(รถขุดไฟฟ้า HITACHI EX2500e) ที่เหมืองลิกไนต์แม่เมาะ จ.ลำปาง. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 16(31), 53-58.[/mfn]    การสร้างแบบจำลองระบบขนส่ง(รถขุดไฟฟ้า HITACHI EX2500e) ที่เหมืองลิกไนต์แม่เมาะ จ.ลำปาง
ศิวรินทร์ คันธิก และ มนูญ มาศนิยม


[mfn]สมเกียรติ ลีลาทวีวุฒิ, จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา และ วรภัทร ไพรีเกรง. (2558). แบบจำลองข้อมูลของระบบธุรกิจอัจฉริยะประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 16(31), 59-73.[/mfn]   แบบจำลองข้อมูลของระบบธุรกิจอัจฉริยะประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สมเกียรติ ลีลาทวีวุฒิ จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา และ วรภัทร ไพรีเกรง


[mfn]แสงระวี บัวแก้ว และ วิภาวัลย์ นาคทรัพย์. (2558). วงจรปรับค่าความชันและตำแหน่งศูนย์ที่ปรับค่าได้ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 16(31), 74-80.[/mfn]   วงจรปรับค่าความชันและตำแหน่งศูนย์ที่ปรับค่าได้ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
แสงระวี บัวแก้ว และ วิภาวัลย์ นาคทรัพย์



วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ลำดับที่ 31 ปี 2558 Engineering Journal of Siam University Vol.15 Issue 2 No.31 2015

 


Quick View