ทัศนคติและความตั้งใจซื้อรถยนต์ประหยัดพลังงานของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (2557)

 

[mfn]เบญจวรรณ บวรกุลภา. (2558). ทัศนคติและความตั้งใจซื้อรถยนต์ประหยัดพลังงานของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. สยามวิชาการ, 15(2), 68-79.[/mfn]   ทัศนคติและความตั้งใจซื้อรถยนต์ประหยัดพลังงานของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร The Attitude and Intention of Consumers in Buying Economic Cars in Bangkok Area

ผศ.เบญจวรรณ บวรกุลภา


วารสารสยามวิชาการ ปีที่ 15 เล่มที่ 2 ฉบับที่ 25 พ.ย. 2557 – ก.พ. 2558 Siam Academic Review Vol. 15 No.2 Issue 25 Nov 2014 -Feb 2015

Quick View

ผลการใช้สารแคลเซียมคลอไรด์ ร่วมกับสารเคลือบผิว Sucrose Fatty Acid Ester ต่อคุณภาพแคนตาลูปตัดแต่งพันธุ์ซันเลดี้

 

Title              :  ผลการใช้สารแคลเซียมคลอไรด์ ร่วมกับสารเคลือบผิว Sucrose Fatty Acid Ester ต่อคุณภาพแคนตาลูปตัดแต่งพันธุ์ซันเลดี้ : Effect of Calcium Chloride Dipping and Sucrose Fatty Acid Ester Coating on the Quality of Fresh Cut Cantaloupe Variety ‘Sun Lady’

Researcher       :  สมภพ อยู่เอ
Somphop Yoo-a

Department     : ภาควิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

E-mail                :  somphop.yoo@siam.edu

บทคัดย่อ             :  การศึกษาผลของการใช้สารละลายแคลเซียมคลอไรด์ ร่วมกับสารเคลือบผิวประเภท sucrose fatty acid ester (Gustec S) ต่อคุณภาพของแคนตาลูปตัดแต่งพันธุ์ซันเลดี้ โดยศึกษาผลของการใช้สารแคลเซียมคลอไรด์ที่ความเข้มข้นร้อยละ 0 0.5 1 1.5 และ 2 จุ่มเป็นเวลา 2 นาที เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส พบว่าที่ความเข้มข้นของสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ร้อยละ 2 ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพน้อยที่สุดตลอดอายุการเก็บรักษา โดยสามารถเก็บรักษาได้นาน 12 วัน เมื่อจุ่แคนตาลูปตัดแต่งในสารแคลเซียมคลอไรด์ความเข้มข้นร้อยละ 2 ร่วมกับสารเคลือบผิวที่ความเข้มข้นร้อยละ 0 1 2 และ 3 เป็นเวลา 2 นาที เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส พบว่า การใช้สารละลายแคลเซียมคลอไรด์ร้อยละ 2 ร่วมกับสารเคลือบผิวที่ความเข้มข้นร้อยละ 3 ชะลอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพแคนตาลูปตัดแต่งได้ดีที่สุดและสามารถยืดอายุการเก็บรักษาได้นาน 14 วัน ในขณะที่ชุดควบคุมซึ่งจุ่มในสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ร้อยละ 2 เพียงอย่างเดียวมีอายุการเก็บรักษา 12 วัน โดยมีความแตกต่างกับชุดการทดลองอื่นอย่างมีนัยสําคัญ (p<0.05) และจากการทดสอบทางประสาทสัมผัส พบว่า การใช้สารละลายแคลเซียมคลอไรด์ความเข้มข้นร้อยละ 2 ร่วมกับสารเคลือบผิวที่ความเข้มข้นร้อยละ 3 ได้รับการยอมรับจากผู้บริโภคมากที่สุด

คําสําคัญ             :  แคลเซียมคลอไรด์, แคนตาลูป, อายุการเก็บรักษา, สารเคลือบผิว

Abstract            :  Effect of Calcium chloride and coating with sucrose fatty acid ester (Gustec S) on quality of cantaloupe fresh cut cv. Sun Lady was investigated. Cantaloupe fresh cut was dipped with calcium chloride concentration 0, 0.5, 1, 1.5 and 2 % during 2 minutes and storage at 5 °C. The result showed that calcium chloride 2 % can reduce changes on the quality of cantaloupe fresh cut and up shelf life to 12 days. The study of calcium chloride 2% and coating Gustec S 0 ,1, 2 and 3 % during 2 minutes then storage at 5 °C. The results show that using calcium chloride 2 % with coating Gustec S 3 % can reduce changing on quality of cantaloupe fresh cut and up shelf life to 14 days. While control treatment (calcium chloride 2%) has shelf life 12 days only. This is significantly different (p< 0.05) and Sensory evaluation tests calcium chloride 2% with coating Gustec S 3% has been accepted maximum by consumer

Keywords        :    Calcium chloride, Cantaloupe, Shelf life, Sucrose fatty acid ester

Donwload PDF  :  ผลการใช้สารแคลเซียมคลอไรด์ ร่วมกับสารเคลือบผิว Sucrose Fatty Acid Ester ต่อคุณภาพแคนตาลูปตัดแต่งพันธุ์ซันเลดี้


Proceeding       : รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 2  ASTC 2014: The 2nd Academic Science and Technology Conference 2014 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี: การศึกษาคือนวัตกรรมนําพาประเทศชาติสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (Innovative Education Challenges the Nation Towards AEC) วันศุกร์ที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๗  ณ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร ผู้จัดหลัก: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

Link to Proceeding:    https://www.astcconference.com/page/proceedings#astc-content


Bibliography     :    สมภพ อยู่เอ. (2557). ผลการใช้สารแคลเซียมคลอไรด์ ร่วมกับสารเคลือบผิว Sucrose Fatty Acid Ester ต่อคุณภาพแคนตาลูปตัดแต่งพันธุ์ซันเลดี้. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่  2 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี: การศึกษาคือนวัตกรรมนําพาประเทศชาติสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (หน้า 232-241). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิต.


 

Quick View

ผลของการเตรียมขั้นต้นและอุณหภูมิของการอบแห้ง ที่มีต่อจลนพลศาสตร์การอบแห้ง และลักษณะคุณภาพบางประการของเนื้อมะพร้าวขูดอบแห้ง

 

Title              :  ผลของการเตรียมขั้นต้นและอุณหภูมิของการอบแห้ง ที่มีต่อจลนพลศาสตร์การอบแห้ง และลักษณะคุณภาพบางประการของเนื้อมะพร้าวขูดอบแห้ง : Effect of Pretreatment and Drying Temperature on Drying Kinetics and Selected Quality Attributes of Dried Desiccated Shredded Coconut

Researcher       :  ณฐมล จินดาพรรณ,* กาญจนาลักษณ์ ศรีภาเลิศ, ธิดารัตน์ อินทร์แก้ว, ณัฏฐิกา ศิลาลาย และธัญญภรณ์ ศิริเลิศ
Nathamol Chindapan*, Kanjanalak Sreepalerd, Tidarat Inkaew, Nattiga Silalai and Tunyaporn sirilert

Department     : ภาควิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

E-mail                :  *ผู้ประสานงานหลัก:  Rchindapan@gmail.com

บทคัดย่อ             :  วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาผลของการเตรียมขั้นต้นและอุณหภูมิของการอบแห้งที่มีต่อจลนพลศาสตร์ของการอบแห้งเนื้อมะพร้าวขูด รวมทั้งลักษณะคุณภาพบางประการของเนื้อมะพร้าวขูดอบแห้งที่ได้ การเตรียมขั้นต้นในการศึกษานี้ ได้แก่ การผสมสารละลายโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ 1 กรัมต่อเนื้อมะพร้าวขูด 1 กิโลกรัม และการลวกโดยใช้ไอน้ำเป็นเวลา 5 นาที จากนั้นนำไปอบแห้งที่อุณหภูมิ 80 และ 90 องศาเซลเซียส โดยใช้เครื่องอบแห้งแบบถาด ในระหว่างการอบแห้ง ทำการสุ่มตัวอย่างออกมาวัดปริมาณความชื้น ทุกๆ 30 นาที จนกระทั่งความชื้นของตัวอย่างไม่มีการเปลี่ยนแปลง จากนั้นรายงานปริมาณความชื้นสมดุลของแต่ละตัวอย่างและเวลาที่ใช้อบแห้งเพื่อทำให้แต่ละตัวอย่างมีความชื้นสุดท้ายเท่ากับ 2.48 % (ฐานเปียก) นอกจากนี้ทำการวิเคราะห์ลักษณะคุณภาพบางประการ ได้แก่ วอเตอร์แอคติวิตี้ ความหนาแน่นรวม อัตราการคืนตัว และค่าสีของเนื้อมะพร้าวขูดอบแห้งที่เหลือความชื้น 2.48 % (ฐานเปียก) เปรียบเทียบกับตัวอย่างควบคุม จากผลการทดลอง พบว่าวิธีการเตรียมขั้นต้นไม่มีผลต่อจลนพลศาสตร์ของการอบแห้งเนื้อมะพร้าวขูด แต่กระทบต่อลักษณะคุณภาพบางประการของเนื้อมะพร้าวขูดอบแห้งอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) ในขณะที่อุณหภูมิที่ใช้ในการอบแห้งมีผลต่อจลนพลศาสตร์ของการอบแห้งเนื้อมะพร้าวขูด รวมทั้งลักษณะคุณภาพบางประการของเนื้อมะพร้าวขูดอบแห้งอย่างมีนัยส้าคัญ (p<0.05)

คําสําคัญ             :  การอบแห้ง จลนพลศาสตร์ เนื้อมะพร้าวขูด

Abstract            :  The objective of this study was to investigate the effect of pretreatments and drying temperatures on drying kinetics of desiccated shredded coconut and selected quality attributes of dried desiccated shredded coconut. Adding with sodium metabisulfite of 1 g per 1 kg desiccated shredded coconut and steam blanching for 5 minute were used to be pretreatment. Each pretreated sample was dried at 80 °C and 90 °C using tray dryer. During drying process, the sample was taken out for moisture content determination every 30 minute until its moisture was negligible. The equilibrium moisture content and drying time for final moisture content of about 2.48 % (w.b.) of sample at each drying condition was noted. Moreover, selected quality attributes of the dried desiccated shredded coconuts having final moisture content of about 2.48 % (w.b.) obtained from different drying conditions were determined to compare with a control sample in terms of water activity, bulk density, rehydration ratio and color. The result showed that the pretreatments did not significantly affect the drying kinetics of the desiccated shredded coconut, but significantly affected the selected quality attributes of the dried desiccated shredded coconut (p<0.05). The drying temperatures significantly affected both the drying kinetics and the selected quality attributes of the dried desiccated shredded coconut (p<0.05).

Keywords        :    Drying, Kinetics, Desiccated shredded coconut

Donwload PDF  :  ผลของการเตรียมขั้นต้นและอุณหภูมิของการอบแห้ง ที่มีต่อจลนพลศาสตร์การอบแห้ง และลักษณะคุณภาพบางประการของเนื้อมะพร้าวขูดอบแห้ง


Proceeding       : รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 2  ASTC 2014: The 2nd Academic Science and Technology Conference 2014 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี: การศึกษาคือนวัตกรรมนําพาประเทศชาติสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (Innovative Education Challenges the Nation Towards AEC) วันศุกร์ที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๗  ณ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร ผู้จัดหลัก: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

Link to Proceeding:    https://www.astcconference.com/page/proceedings#astc-content


Bibliography     :    ณฐมล จินดาพรรณ, กาญจนาลักษณ์ ศรีภาเลิศ, ธิดารัตน์ อินทร์แก้ว, ณัฏฐิกา ศิลาลาย และ ธัญญภรณ์ ศิริเลิศ. (2557). ผลของการเตรียมขั้นต้นและอุณหภูมิของการอบแห้ง ที่มีต่อจลนพลศาสตร์การอบแห้ง และลักษณะคุณภาพบางประการของเนื้อมะพร้าวขูดอบแห้ง. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่  2 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี: การศึกษาคือนวัตกรรมนําพาประเทศชาติสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (หน้า 317-323). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิต.


 

Quick View

รูปแบบการจัดการศึกษาทางเลือก เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

[mfn]โสภณ ชัยวัฒนกุลวานิช และ ชนิตา รักษ์พลเมือง. (2558). รูปแบบการจัดการศึกษาทางเลือก เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา, 9(1), 192-201.[/mfn]   รูปแบบการจัดการศึกษาทางเลือก เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

โสภณ ชัยวัฒนกุลวานิช และ ชนิตา รักษ์พลเมือง


Professor Emeritus Dr.Chanita Rukspollmuang

Quick View
วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์-ปีที่9-ฉบับที่2-กค-ธค-2557

รูปแบบการบริการที่เป็นเลิศของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และค้นหารูปแบบการบริการที่เป็นเลิศของโรงพยาบาลเอกชน ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2560 โดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Future Research กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 20 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดและการบอกต่อของผู้เชี่ยวชาญ ประกอบด้วย 1) ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหาร โรงพยาบาลเอกชน ซึ่งเป็นระดับผู้บริหาร จำนวน 3 คน 2) ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการพยาบาล ซึ่งเป็นหัวหน้าฝ่าย การพยาบาล จำนวน 5 คน 3) ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารธุรการ ซึ่งเป็นหัวหน้าฝ่ายธุรการ จำนวน 4 คน 4) ผู้เชี่ยวชาญ ด้านปฏิบัติการพยาบาล ซึ่งเป็นพยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการพยาบาล จำนวน 5 คน และ 5) ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษา พยาบาล ซึ่งเป็นอาจารย์พยาบาลที่สอนระดับบัณฑิตศึกษา จำนวน 3 คน รวมทั้งหมด 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย รอบที่ 1 เป็นแบบสัมภาษณ์ ส่วนรอบที่ 2 และ 3 เป็นแบบสอบถามมาตรวัดประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่างควอไทล

ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการบริการที่เป็นเลิศของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ปี พ.ศ.2560 ประกอบ ด้วย 4 หมวด ดังนี้

1. การบริการของแพทย์และนางพยาบาล ประกอบด้วย 4 ด้านย่อย ได้แก่ 1) การจัดการทั่วไป 2) การจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ 3) การจัดการความรู้ และ 4) การจัดการงบประมาณ

2. การบริการวินิจฉัยโรค ประกอบด้วย 2 ด้านย่อย ได้แก่ 1) รูปแบบการบริการวินิจฉัยโรค และ 2) คุณภาพ การบริการและการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ

3. การบริการของพนักงานต้อนรับ ประกอบด้วย 2 ด้านย่อย ได้แก่ 1) สมรรถนะทั่วไป และ 2) สมรรถนะเฉพาะ ตำแหน่งผู้นำพนักงานต้อนรับและผู้ปฏิบัติงานต้อนรับ

4. การบริการของพนักงานรับชำระเงิน ประกอบด้วย 2 ด้านย่อย ได้แก่ 1) สมรรถนะทั่วไป และ 2) สมรรถนะ เฉพาะตำแหน่งผู้นำพนักงานรับชำระเงินและผู้ปฏิบัติงานชำระเงิน

คำสำคัญ : การบริการที่เป็นเลิศ, คุณภาพการบริการ, โรงพยาบาลเอกชน

ABSTRACT

The purpose of this research was to study find and analyze model of an excellent service of private hospitals in Thailand at 2017. An Ethnographic Delphi Future Research (EDFR) technique was applied. Twenty experts including 3 private hospital administrators, 5 members from nursing organizations, 4 Staff from administration, 5 operation nursing and 3 nursing instructors were participated in this study. The study instruments were: 1) an interview guide for asking the experts to describe the excellent nursing service department, and 2) a questionnaire developed from the interview contents to ask a prior panel of experts for confirming the previous opinion. Study data were analyzed by using median and inter-quartile range to summarize the characteristics of excellent nursing service department.

The results revealed that the excellent service of private hospitals was classified into 4 categories:

1. Physician and nursing service, consisting of 4 subcategories: 1) General management 2) Human resources management 3) Applying knowledge management, and 4) Budgeting management.

2. Diagnostic service, consisting of 2 subcategories: 1) A variety of diagnostic models and 2) Effective quality of diagnostic and continuous of quality improvement.

3. Receptionist staff service consisting of 2 subcategories: 1) Basic competency and 2) Specific competency of receptionist staff.

4. Cashier staff service consisting of 2 subcategories: 1) Basic competency and 2) Specific competency of cashier staff.

Keywords :  Excellent service, service quality, private hospitals


งานที่อ้างถึง

รุ่งโรจน์ สงสระบุญ. (2557). รูปแบบการบริการที่เป็นเลิศของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย. วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์, 9(2), 54-67.

Quick View
วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร-Silpakorn-University-Journal-Thai- Vol34-No3 Sep-Dec-2014

รูปแบบการบริการสุขภาพที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ป่วยในแผนกอายุรกรรมโรงพยาบาลเอกชน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยการบริการสุขภาพที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ป่วยในแผนกอายุรกรรมโรงพยาบาลเอกชน (2) เพื่อค้นหารูปแบบความสัมพันธ์ปัจจัยการบริการสุขภาพที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ป่วยในแผนกอายุรกรรมโรงพยาบาลเอกชน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) ระยะการทำวิจัยตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 – เมษายน พ.ศ. 2557 กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา ได้แก่ ผู้ป่วยนอกที่ใช้บริการในแผนกอายุรกรรมโรงพยาบาลเอกชน จำนวน 880 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้การสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling) สถิติที่ทดสอบสมมติฐานประกอบด้วยสถิติวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล (Path Analysis) และสถิติวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling: SEM) ผลการวิจัยพบว่า (1) รูปแบบการบริการสุขภาพที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ป่วยในแผนกอายุรกรรมโรงพยาบาลเอกชนประกอบด้วย 2 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยการบริการทางการแพทย์ และปัจจัยการต้อนรับของแผนกอายุรกรรมโรงพยาบาลเอกชน โดยปัจจัยการบริการสุขภาพที่มีผลมากที่สุด คือ ปัจจัยการต้อนรับของแผนก อายุรกรรมโรงพยาบาลเอกชน รองลงมา ได้แก่ ปัจจัยการบริการทางการแพทย์ ตามลำดับ (2) ปัจจัยความพึงพอใจของผู้ป่วย ในแผนกอายุรกรรมกลุ่มโรงพยาบาลเอกชนในด้านการกลับมาใช้บริการซ้ำมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านการแนะนำบอกต่อลูกค้ารายอื่น

KEYWORDS: การบริการสุขภาพ, ความพึงพอใจ, แผนกอายุรกรรม


งานที่อ้างถึง

รุ่งโรจน์ สงสระบุญ. (2557). รูปแบบการบริการสุขภาพที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ป่วยในแผนกอายุรกรรมโรงพยาบาลเอกชน. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ, 34(3), 151-170.

 By Rungroje Songsraboon

Quick View

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 14 ปี 2557

[mfn]รัฐพล ไชยรัตน์. (2557). ภาพอัตลักษณ์ของวัฒนธรรมข้าวไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 8-14.[/mfn]   ภาพอัตลักษณ์ของวัฒนธรรมข้าวไทย

รัฐพล ไชยรัตน์


[mfn]สุเทพ เดชะชีพ, ต่อตระกูล อุบลวัตร, ณฐมน วันวิชัย และ สิริวิมล ปัณณราช. (2557). การศึกษาเปรียบเทียบการรับรู้ ความต้องการข่าวสาร การนำเสนอเนื้อหาและความต้องการมีส่วนร่วมต่อการสร้างจิตสำนึกสาธารณะในการอนุรักษ์คลองแสนแสบกรณีศึกษาชุมชนเทพลีลา – ชุมชนวัดตึก. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 15-25.[/mfn]   การศึกษาเปรียบเทียบการรับรู้ ความต้องการข่าวสาร การนำเสนอเนื้อหาและความต้องการมีส่วนร่วมต่อการสร้างจิตสำนึกสาธารณะในการอนุรักษ์คลองแสนแสบกรณีศึกษาชุมชนเทพลีลา – ชุมชนวัดตึก

สุเทพ เดชะชีพ, ต่อตระกูล อุบลวัตร, ณฐมน วันวิชัย และ สิริวิมล ปัณณราช


[mfn]วิทูร สินศิริเชวง. (2557). พฤติกรรมการบริโภคสื่อของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 26-36.[/mfn]   พฤติกรรมการบริโภคสื่อของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วิทูร สินศิริเชวง


[mfn]พงศวีร์ สุภานนท์. (2557). การควบคุมเนื้อหาภาพยนตร์กับสาระที่เปลี่ยนไป. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 37-50.[/mfn]   การควบคุมเนื้อหาภาพยนตร์กับสาระที่เปลี่ยนไป

พงศวีร์ สุภานนท์


[mfn]มนฑิรา  ธาดาอำนวยชัย. (2557). เทศกาลภาพยนตร์และตลาดขายภาพยนตร์ บทบาทที่สำคัญต่ออุตสาหกรรมภาพยนตร์. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 51-54.[/mfn]   เทศกาลภาพยนตร์และตลาดขายภาพยนตร์ บทบาทที่สำคัญต่ออุตสาหกรรมภาพยนตร์

มนฑิรา  ธาดาอำนวยชัย


[mfn]วรวุฒิ ทัดบรรทม และ วรสิริ วัดเข้าหลาม. (2557). การศึกษากระบวนการสร้างสรรค์บทละครวิทยุของคณะกันตนา. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 55-66.[/mfn]   การศึกษากระบวนการสร้างสรรค์บทละครวิทยุของคณะกันตนา

วรวุฒิ ทัดบรรทม และ วรสิริ วัดเข้าหลาม


[mfn]นวลพรรณ เนติทวีทรัพย์ และ จุฑา ติงศภัทิย์. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข้อมูข่าวสารกับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสนามกีฬาหัวหมากที่มีต่อการกีฬาแห่งประเทศไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 67-78.[/mfn]   ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข้อมูข่าวสารกับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสนามกีฬาหัวหมากที่มีต่อการกีฬาแห่งประเทศไทย

นวลพรรณ เนติทวีทรัพย์ และ จุฑา ติงศภัทิย์


[mfn]เจตน์จันทร์ เกิดสุข. (2557). การศึกษาการใช้ศาสตร์การตัดต่อในกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ที่เลือกมาเป็นกรณีศึกษา. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 79-91.[/mfn]   การศึกษาการใช้ศาสตร์การตัดต่อในกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ที่เลือกมาเป็นกรณีศึกษา

เจตน์จันทร์ เกิดสุข


[mfn]ยุทธนา สุวรรณรัตน์. (2557). การสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับกลุ่มชายรักชาย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 92-99.[/mfn]   การสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับกลุ่มชายรักชาย

ยุทธนา สุวรรณรัตน์


[mfn]ลัทธสิทธิ์ ทวีสุข. (2557). กระบวนการออกแบบลายเส้นเพื่อสื่อสารผ่านลักษณะดีและร้ายของตัวการ์ตูน กรณีศึกษา ภาพยนตร์การ์ตูนขนาดสั้นเรื่อง Paperman. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 100-108.[/mfn]   กระบวนการออกแบบลายเส้นเพื่อสื่อสารผ่านลักษณะดีและร้ายของตัวการ์ตูน กรณีศึกษา ภาพยนตร์การ์ตูนขนาดสั้นเรื่อง Paperman

ลัทธสิทธิ์ ทวีสุข


[mfn]รัฐเขต ปรีชล. (2557). วิเคราะห์วาทกรรมจากข่าวประชาสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร (ข่าว กทม.) ที่เผยแพร่ในช่วงมีการชุมนุมปิดกรุงเทพมหานคร “Bangkok Shutdown” ของกลุ่ม กปปส.. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 109-117.[/mfn]   วิเคราะห์วาทกรรมจากข่าวประชาสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร (ข่าว กทม.) ที่เผยแพร่ในช่วงมีการชุมนุมปิดกรุงเทพมหานคร “Bangkok Shutdown” ของกลุ่ม กปปส.

รัฐเขต ปรีชล


[mfn]ปิยะศักดิ์ ชมจันทร์. (2557). วิจารณ์บทความชุด Future of Advertising ของวารสาร Harvard Business Review ฉบับเดือนมีนาคม 2556. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 118-119.[/mfn]   วิจารณ์บทความชุด Future of Advertising ของวารสาร Harvard Business Review ฉบับเดือนมีนาคม 2556

ปิยะศักดิ์ ชมจันทร์


วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 14 ปี 2557 Siam Communication Review Vol13 No14 2014

Quick View
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์-มหาวิทยาลัยสยาม

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 15 ปี 2557

บทบรรณาธิการและสารบัญ


1. แบบจำลองการสื่อสารในยุคดิจิทัล
ศิริชัย ศิริกายะ


2. The Symbolic Appearance of Mara in Thai Temple Murals
กฤษณ์ ทองเลิศ


3 . เรื่องนักสืบในสื่อยอดนิยม
ฉลองรัฐ เฌอมาลย์ชลมารค


4 . พฤติกรรมการใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจในการสื่อสารเพื่อสร้างความหมายในแอพพลิเคชั่นไลน์
อวยพร พานิช
ทัศนีย์ ดำเกิงศักดิ์


5 . การโน้มน้าวใจการตลาดเชิงเนื้อหา
ภานนท์ คุ้มสุภา


6 . เทคนิคการถ่ายภาพรถยนตร์ขณะเคลื่อนที่
อิทธิพล โพธิพันธ์


7 . ปัจจัยที่มีผลต่อการเปิดรับข่าวสารของนักศึกษาคณะนิเทศศาสตร์
ประกิจ อาษา
จารุณี วรรณศิริกุล
สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์


8 . การพัฒนากิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมในชุมชนเต่างอยของโรงงานหลวงอาหารสำเร็จรูปที่ ๓ (เต่างอย) จ.สกลนคร กับ เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาสาขานิเทศศาสตร์
เวทิต ทองจันทร์


9 . กระบวนการสอนเชิงปฏิบัติการเพื่อสื่อความหมายภาพจิตกรรมในหัวข้อ วาดฝัน ฉันจะเป็น… ภายใต้โครงการจิตอาสาพัฒนาเต่างอย
สุริยะ ฉายะเจริญ


10. การพัฒนากล้องถ่ายรูปดิจิทัลส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการใช้กล้องของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
พัฒนพนธ์ งามไพบูลย์สมบัติ


11. รูปแบบการสื่อความหมายที่ปรากฎบนปกนิตยสารรถกระบะ
ญาณเสฏฐ์ ตั้งเขื่อนขันธ์


12. การนำเสนอรายการกีฬาของช่องสื่อโทรทัศน์ดาวเทียม SMM TV
วรพจน์ อัศวพงษ์โชติ


13. การสร้างเว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์ของเล่นพื้นบ้านไทยสำหรับพิพิธภัณฑ์เล่นได้ จังหวัดเชียงราย
วรางคณา โตจำสี
พรประภัสสร ปริญชาญกล
ปกรณ์ สุปินานนท์


14. วิจารณ์หนังสือ The Theater Experience ของ Edwin Wilson
ชโลธร จันทะวงศ์

Quick View
วารสารเทคโนโลยีการอาหาร-มหาวิทยาลัยสยาม-ปีที่10-ฉบับที่1-ตค57-กย58

วารสารเทคโนโลยีการอาหาร ปีที่10 ฉบับที่1 ต.ค.2557–ก.ย.2558

บทบรรณาธิการ


[mfn]อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์, ชนิตา ชูพรม และ อายูรีน มานะ. (2557-2558). การคัดแยกแบคทีเรียชอบเค็มที่ผลิตเอนไซม์โปรติเอสจากปลาร้า. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 10(1), 1-8.[/mfn]   การคัดแยกแบคทีเรียชอบเค็มที่ผลิตเอนไซม์โปรติเอสจากปลาร้า Screening of Protease Producing Halophilic Bacteria from Fermented Fish (Pla-ra)
อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์ ชนิตา ชูพรม และ อายูรีน มานะ


[mfn]ปิยนุสร์ น้อยด้วง, ณัฐพร ตะเภาทอง และ เกศรินทร์ มาสิลีรังสี. (2557-2558). การใช้ผงเยื่อฟักข้าวแห้งเป็นสารกันหืนในผลิตภัณฑ์มายองเนส. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 10(1), 9-18.[/mfn]   การใช้ผงเยื่อฟักข้าวแห้งเป็นสารกันหืนในผลิตภัณฑ์มายองเนส Use of Dried Aril of Gac Fruit Powder as an Antioxidant in Mayonnaise Product
ปิยนุสร์ น้อยด้วง ณัฐพร ตะเภาทอง และ เกศรินทร์ มาสิลีรังสี


[mfn]จิรนาถ บุญคง, ทิพวรรณ บุญมี และพัชราวรรณ เรือนแก้ว . (2557-2558). การใช้แป้งกล้วยหอมทองดิบที่มีสมบัติต้านทานการย่อยสลายด้วยเอนไซม์ในผลิตภัณฑ์พาสต้า. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 10(1), 19-29.[/mfn]   การใช้แป้งกล้วยหอมทองดิบที่มีสมบัติต้านทานการย่อยสลายด้วยเอนไซม์ในผลิตภัณฑ์พาสต้า Application of Resistant Starch from Unripe Banana “Hom Thong” (Musa sapientum L., AAA group) in Pasta
จิรนาถ บุญคง  ทิพวรรณ บุญมี และพัชราวรรณ เรือนแก้ว


[mfn]อินทาวุธ สรรพวรสถิตย์, กรุณาพร ปานวรณ์, ชุติกา เกียรติเรืองไกร และสายวรุฬ ชัยวานิชศิริ. (2557-2558). ผลของวิธีการหุงต่อปริมาณกรดแกมมาอะมิโนบิวทิริก (กาบา) และสมบัติทางเคมีกายภาพของข้าวกล้องงอก . วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 10(1), 30-41.[/mfn]   ผลของวิธีการหุงต่อปริมาณกรดแกมมาอะมิโนบิวทิริก (กาบา) และสมบัติทางเคมีกายภาพของข้าวกล้องงอก Effect of Cooking Methods on γ-aminobutyric Acid Content and Physico-chemical Properties of Germinated Brown Rice
อินทาวุธ สรรพวรสถิตย์  กรุณาพร ปานวรณ์ ชุติกา เกียรติเรืองไกร และสายวรุฬ ชัยวานิชศิริ


[mfn]ธารารัตน์ จินดาไทย, วรรณภา ชูเสียง และ กอบศักดิ์ กาญจนาพงศ์กุล. (2557-2558). ผลของอุณหภูมิและความสุกต่อค่าการนาไฟฟ้า ความชื้น และปริมาณของแข็งที่ละลายน้าได้ของ กล้วยน้าว้าระหว่างกระบวนการให้ความร้อนแบบโอห์มมิค. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 10(1), 42-50.[/mfn]   ผลของอุณหภูมิและความสุกต่อค่าการนาไฟฟ้า ความชื้น และปริมาณของแข็งที่ละลายน้าได้ของ กล้วยน้าว้าระหว่างกระบวนการให้ความร้อนแบบโอห์มมิค
Effects of Temperature and Degree of Maturity on Electrical Conductivity, Moisture Content and Total Soluble Solid of Banana (Musa sapientum Linn or “Nam wa”) during Ohmic Heating
ธารารัตน์ จินดาไทย  วรรณภา ชูเสียง และ กอบศักดิ์ กาญจนาพงศ์กุล


[mfn]กิติพงศ์ อัศตรกุล. (2557-2558). รังสียูวี: เทคโนโลยีใหม่ส้าหรับอุตสาหกรรมน้าผลไม้. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 10(1), 51-62.[/mfn]   รังสียูวี: เทคโนโลยีใหม่ส้าหรับอุตสาหกรรมน้าผลไม้ Ultraviolet Radiation: An Emerging Technology for Juice Industry
กิติพงศ์ อัศตรกุล


บทความวิชาการ

[mfn]ณัฏฐิกา ศิลาลาย และ อูริยา รูส. (2557-2558). อิทธิพลขององค์ประกอบที่มีต่อสมบัติเชิงความร้อนและโอกาสของปรากฏการณ์ การเกาะตัวกันเป็นก้อนของผลิตภัณฑ์นมผง. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 10(1), 63-80.[/mfn]   อิทธิพลขององค์ประกอบที่มีต่อสมบัติเชิงความร้อนและโอกาสของปรากฏการณ์ การเกาะตัวกันเป็นก้อนของผลิตภัณฑ์นมผง
Compositional Effect on Thermal Properties and Opportunities of Milk Powder Stickiness Phenomena
ณัฏฐิกา ศิลาลาย และ อูริยา รูส


[mfn]ณัฐดนัย หาญการสุจรติ. (2557-2558). เทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุเพื่อการเพิ่มคุณภาพอาหารแช่เยือกแข็ง. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 10(1), 81-102.[/mfn]   เทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุเพื่อการเพิ่มคุณภาพอาหารแช่เยือกแข็ง Packaging Materials and Technologies for Improving Quality of Frozen Foods
ณัฐดนัย หาญการสุจรติ


–    ใบสมัครขอส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม คำแนะนำสำหรับผู้เขียนวารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม (Guidelines for Authors in Journal of Food Technology, Siam University)

 

Quick View
วารสารเทคโนโลยีการอาหาร-มหาวิทยาลัยสยาม-ปีที่9-ฉบับที่1-มิย56-พค57

วารสารเทคโนโลยีการอาหาร ปีที่9 ฉบับที่1 มิ.ย.2556–พ.ค.2557

บทบรรณาธิการ


บทความวิชาการ

[mfn]อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์. (2556-2557). การลดปริมาณฮีสตามีนในปลาและผลิตภัณฑ์ปลาโดยจุลินทรีย์. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 9(1), 1-8.[/mfn]  การลดปริมาณฮีสตามีนในปลาและผลิตภัณฑ์ปลาโดยจุลินทรีย์ Histamine Reduction in Fish and Fishery Products by Microorganisms
อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์


[mfn]กิติพงศ์ อัศตรกุล. (2556-2557). อะลิไซโคลบาซิลลัส: แบคทีเรียที่เป็นปัญหาต่ออุตสาหกรรมน้าผลไม้. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 9(1), 9-20.[/mfn]  อะลิไซโคลบาซิลลัส: แบคทีเรียที่เป็นปัญหาต่ออุตสาหกรรมน้าผลไม้ Alicyclobacillus: A Significant Bacteria for Fruit Juice Industry
กิติพงศ์ อัศตรกุล


[mfn]อินทาวุธ สรรพวรสถิตย์. (2556-2557). อันตรกริยาระหว่างกลิ่นรสและโปรตีน. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 9(1), 21-30.[/mfn]  อันตรกริยาระหว่างกลิ่นรสและโปรตีน (Flavor-Protein Interactions)
อินทาวุธ สรรพวรสถิตย์


[mfn]หยาดฝน ทนงการกิจ. (2556-2557). การใช้ประโยชน์จากเศษผักผลไม้เหลือทิ้งเพื่อผลิตเป็นใยอาหารผง. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 9(1), 31-38.[/mfn]  การใช้ประโยชน์จากเศษผักผลไม้เหลือทิ้งเพื่อผลิตเป็นใยอาหารผง Utilization of Vegetable and Fruit Residues for Production of Dietary Fiber Powder
หยาดฝน ทนงการกิจ


บทคัดย่อ

[mfn]สมฤดี ไทพานิชย์ และ ปราณี อ่านเปรื่อง. (2556-2557). การป้องกันการเกิดสีน้ำตาลของผลิตภัณฑ์เนื้อกล้วยหอมตีป่นพาสเจอไรซ์. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 9(1), 39.[/mfn]  การป้องกันการเกิดสีน้ำตาลของผลิตภัณฑ์เนื้อกล้วยหอมตีป่นพาสเจอไรซ์ Inhibition Of Browning Reaction
in Pasteurzed Fragrant Banana Puree
สมฤดี ไทพานิชย์ และ ปราณี อ่านเปรื่อง


[mfn]ณฐมล จินดาพรรณ, สุจิตรา ศรีเงินยวง และ ชญานิน แดงพรม. (2556-2557). อิทธิพลของ pH และอุณหภูมิที่มีต่อสมบัติการละลายและการเกิดฟองของโปรตีนถั่วเขียวเข้มข้น. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 9(1), 52-62.[/mfn]  อิทธิพลของ pH และอุณหภูมิที่มีต่อสมบัติการละลายและการเกิดฟองของโปรตีนถั่วเขียวเข้มข้น Influence of pH and Temperature on Solubility and Foaming Properties of Mung Bean Protein Concentrate
ณฐมล จินดาพรรณ, สุจิตรา ศรีเงินยวง และ ชญานิน แดงพรม


[mfn]วสันต์ สุมินทิลี่, ปนิดา บรรจงสินศิริ, จันทนา ไพรบูรณ์ และวรรณวิมล คล้ายประดิษฐ์. (2556-2557). กิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดหยาบจากสาหร่ายพวงองุ่น. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 9(1), 63-75.[/mfn]  กิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดหยาบจากสาหร่ายพวงองุ่น (Caulerpa lintillifera) สาหร่ายทุ่น (Sargassum oligocystum) และสาหร่ายเขากวาง (Gracilaria changii) Antioxidant Activities of Crude Extracts from Caulerpa lintillifera, Sargassum oligocystum and Gracilaria changii
วสันต์ สุมินทิลี่  ปนิดา บรรจงสินศิริ  จันทนา ไพรบูรณ์  และวรรณวิมล คล้ายประดิษฐ์


–   ใบสมัครขอส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม คำแนะนำสำหรับผู้เขียนวารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม (Guidelines for Authors in Journal of Food Technology, Siam University)

 

Quick View