Impact of inappropriate empiric antimicrobial therapy on mortality of septic patients with bacteremia: A retrospective study(2012)

Title           : Impact of inappropriate empiric antimicrobial therapy on mortality of septic patients with bacteremia: A retrospective study

Researcher       : Lueangarun, S., Leelarasamee, A.

Department     : [mfn]1[/mfn]Department of Medicine, Chulabhorn Hospital, Lak Si, Bangkok 10210, Thailand
[mfn]2[/mfn]Department of Medicine, Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University, Bangkok 10700, Thailand

Abstract            :  Background. Inappropriate empiric antimicrobials could be a major cause of unfavorable mortality rates in co-morbid patients. This study aimed to assess the prevalence and impact of first-dose and 24-hour inappropriate antimicrobials on mortality rates of bacteremic septic patients. Methods. A retrospective cohort study was employed. Case record forms of patients diagnosed as sepsis, severe sepsis, or septic shock with positive hemoculture during 2009 were retrieved from the medical wards, Siriraj Hospital. Demographic data, antimicrobial use, types of bacteria isolated from blood and susceptibilities, patients’ comorbidities, 28-day and overall mortality rates were collected and analyzed. Results. There were 229 cases, mean age (SD) of 63.5 (17.2) years and mean (SD) APACHE II score of 24.7 (6.8). The prevalence of first-dose and 24-hour inappropriate antimicrobials was 29.7% and 25.3%, respectively. The 28-day and overall mortality rates between first-dose inappropriate and appropriate antimicrobial were 67.6% versus 60.2% () and 75.0% versus 68.3% (), consequently. Patients with septic shock and inappropriate first-dose antimicrobials significantly had higher 28-day mortality rate (61.6% versus 41.9%; ). Conclusion. Higher mortality rates in bacteremic septic patients were substantially associated with inappropriate first-dose antimicrobials and 3-hour delayed antimicrobial administration after sepsis diagnosis.


Link to Academic article: https://www.hindawi.com/journals/ipid/2012/765205/


Journal : Interdisciplinary Perspectives on Infectious Diseases, 2012.


Bibliography     : Lueangarun, S., & Leelarasamee, A. (2012). Impact of inappropriate empiric antimicrobial therapy on mortality of septic patients with bacteremia: A retrospective study. Interdisciplinary Perspectives on Infectious Diseases, 2012, 765205.


 

Quick View
วารสารกระแสวัฒนธรรม-มหาวิทยาลัยสยาม

กระแสวัฒนธรรม ปีที่ 13 ฉบับที่ 23 ม.ค.-มิ.ย. 2555

การศึกษาเปรียบเทียบศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวด้านศิลปวัฒนธรรม ของปราสาทหินพิมายและปราสาทเขาพนมรุ้ง
Somphob Chatawanich


บทบรรณาธิการ
ผศ.ดร.สมหมาย จันทร์เรือง


บทความวิจัย
1. การสร้างสังคมสมานฉันท์ด้วยสหศาสตร์ : กรณีศึกษาความไม่เข้าใจกันระหว่างประชาชน กับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ผศ.ดร.สมหมาย จันทร์เรือง


2. ความสัมพันธ์ของการได้งานทำกับผลคะแนน TOEIC และคะแนนเฉลี่ยสะสม ของนักศึกษาสาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว
ผศ.ดร.ชลลดา มงคลวนิช, อาจารย์มัสลิน วุฒิสินธุ์


3. ปัญหาการใช้คำช่วยภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนชาวไทย -กรณีศึกษานักเรียนหลักสูตร Intensive Japanese Twinning Program Program ของมหาวิทยาลัยโตไกกับสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
HIRONAKA TOMITA, FUMIYASU MAENO


4. ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษา : กรณีศึกษา นักศึกษามหาวิทยาลัยสยาม
ทศพร ทรัพย์สนอง


บทความวิชาการ
1. Biocapture and Displaced to the Third World : an analysis of the plight of the neo-effugio from the dystopo-fascisteria
IAIN COWIE


2. Hmong Refugees’ and the United States : “Home” Loss and Estrangement
SEAN MEADOWS


3. คุณธรรมเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน
ผศ.ดร.สิน งามประโคน

Quick View
วารสารกระแสวัฒนธรรม-มหาวิทยาลัยสยาม

กระแสวัฒนธรรม ปีที่ 13 ฉบับที่ 24 ก.ค.-ธ.ค. 2555

บทบรรณาธิการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลลดา มงคลวนิช


บทความวิจัย
1. ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ การจัดขันหมากเพื่อการสู่ขอการแต่งงานของชาวจังหวัดสงขลา
เสาวภา โชติเกษมศรี


2. การจัดการแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมในชุมชนตลาดพลู เขตธนบุรี
มณีวรรณ ชาตวนิช


3. ความมุ่งมั่นของผู้นำในการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นคเรศ ณ พัทลุง, ยุวัฒน์ วุฒิเมธี


4. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบุคลากร ตามมุมมองของผู้บริหาร ในสถานประกอบการประเภทรีสอร์ทและโฮมสเตย์ในอำเภออัมพวา และพื้นที่ใกล้เคียง จังหวัดสมุทรสงคราม
รัตนาภรณ์ ชาติวงศ์, เยาวภรณ์ เลิศกุลาทามนท์, วนิดา เลิศพิพัฒนานนท์


5. ชนต่างภาษาในทัศนะของชนชั้นนำสยาม : ประวัติศาสตร์นิพนธ์ ชาติพันธุ์วรรณา และความหลากหลายในพหุสังคมรัตนโกสินทร์
มาโนช พรหมปัญโญ


บทความวิชาการ
1. แหล่งนันทนาการเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ช่วยดึงดูดความสนใจนักท่องเที่ยว
คณิต เขียววิชัย

Quick View
วารสารกระแสวัฒนธรรม-มหาวิทยาลัยสยาม

การสร้างสังคมสมานฉันท์ด้วยสหศาสตร์ : กรณีศึกษาความไม่เข้าใจกันระหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

 

[mfn]สมหมาย จันทร์เรือง. (2555). การสร้างสังคมสมานฉันท์ด้วยสหศาสตร์ : กรณีศึกษาความไม่เข้าใจกันระหว่างประชาชน กับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่อำเภอรามัน จังหวัดยะลา. กระแสวัฒนธรรม, 13(23), 3-17.[/mfn]    การสร้างสังคมสมานฉันท์ด้วยสหศาสตร์ : กรณีศึกษาความไม่เข้าใจกันระหว่างประชาชน กับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่อำเภอรามัน จังหวัดยะลา  THE CONSTRUCTION OF A HARMONIOUS SOCIETY BY MULTIDISCIPLINE : A CASE STUDY ON MISUNDERSTANDING BETWEEN CITIZENS AND THE STATE OFFICERS IN RAMAN DISTRICT, YALA PROVINCE 

เจ้าของผลงาน       :  ผศ.ดร. สมหมาย จันทร์เรือง

บทคัดย่อ                :  งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพประกอบกับการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความไม่เข้าใจกันระหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จากปัจจัยด้านรัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์และสังคมวิทยาผลการวิจัยพบว่าปัจจัยทางรัฐศาสตร์เกิดมาจากการเป็นรัฐอิสระที่รุ่งเรืองในอดีต มีความเชื่อพระเจ้าของศาสนาอิสลาม การปกครองยึดถือคำสอนของศาสนาอิสลามเป็นหลัก ด้านเศรษฐศาสตร์ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรมและการทำประมง อาศัยป่าและทะเล หรือแหล่งน้ำในการดำรงชีวิตที่พอเพียงเลี้ยงชีพได้ด้านสังคมวิทยาพบว่า ประชาชนในอำเภอรามัน จังหวัดยะลาส่วนใหญ่เป็นอิสลามมาเลย์ใช้ภาษายาวี การศึกษาได้ช่วยการหล่อหลอมความเชื่อทางศาสนา การที่รัฐมีนโยบายที่เอื้อต่อคนส่วนน้อยที่เป็นไทยพุทธและคนจีนทำให้เกิดความไม่เข้าใจกันระหว่างประชาชนส่วนใหญ่กับเจ้าหน้าที่ของรัฐ แนวทางแก้ไขจึงควรสนับสนุนด้านการศึกษาเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจกัน โดยการจัดระบบการศึกษาของกระทรวงศึกษาอย่างเหมาะสม

คำสำคัญ                : สมานฉันท์ สหศาสตร์ รามัน ยะลา

Abstract              :  The Construction of Harmonious Society by Multidiscipline : The research entitled “A Case Study on Misunderstanding between Citizens and the State Officers in Raman District, Yala” is aimed to study misunderstanding between citizens and the state officers with to factors in relation to political science, economics, and sociology, and to study means to build a harmony community in Raman district, Yala province. The research employed both quantitative and qualitative approaches. This study reveals misunderstanding with regard to factors in political science – since the inhabitants built their first homes in Pattani, this township was an independent city state and ruled by a monarchy system still lingers. Its rulers were Islamic and had their faith in the power of God, i.e. Allah. In the matter of economy, most of them had careers in agriculture, raised livestock and fishery. Upon the geographical factors, they had forests, mountains and water supplies from rivers, ponds and lagoons in addition to the sea. Their resources thus were plentiful and wel supportive to plant farming. They relied on sufficiency way of life; and relied on nature. The people’s livelihood in the three southern most provinces was a truly integration among people of al ethnic origins. However, the majority of them have been Islamic Malays. Their faith is Islam and their spoken language is Yawee which is the local Malay dialect. Their education has put a stress on religious studies, and they have their mosque as centre of their religious practices. The minority of the residents have been Buddhist Thais and Chinese. They have their monasteries and shrines as their religious and are educated according to the system provided by the Ministry of Education.

Keywords           :  Harmonious, Multidiscipline, Raman Yala

Download PDF  :  การสร้างสังคมสมานฉันท์ด้วยสหศาสตร์ : กรณีศึกษาความไม่เข้าใจกันระหว่างประชาชน กับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่อำเภอรามัน จังหวัดยะลา


Publication        :  กระแสวัฒนธรรม ปีที่ 13 ฉบับที่ 23 ม.ค.-มิ.ย. 2555   Cultural Approach  Vol.13 No.23 Jan-Jun 2012

Link to Publication:  https://e-library.siam.edu/e-journal/article/journal-of-cultural-approach-2012-vol13-no23-jan-jun/

Bibliography     :  สมหมาย จันทร์เรือง. (2555). การสร้างสังคมสมานฉันท์ด้วยสหศาสตร์ : กรณีศึกษาความไม่เข้าใจกันระหว่างประชาชน กับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่อำเภอรามัน จังหวัดยะลา. กระแสวัฒนธรรม, 13(23), 3-17.


คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

Quick View

ความพึงพอใจของนักศึกษา ที่ปฏิบัติงานในธุรกิจบริการตามระบบสหกิจศึกษา

 

Title              : ความพึงพอใจของนักศึกษา ที่ปฏิบัติงานในธุรกิจบริการตามระบบสหกิจศึกษา THE STUDENTS’ SATISFACTION WITH COOPERATIVE EDUCATION SYSTEM OF WORKING IN THE SERVICE SECTOR

Researcher       : ผศ.ดร.ชลลดา มงคลวนิช 

Department      :  Faculty of Liberal Arts, Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                 :  ติดต่อได้ที่:

บทคัดย่อ              :  การวิจัยเรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษาที่ปฏิบัติงานในธุรกิจบริการตามระบบสหกิจศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความพึงพอใจของนักศึกษาสหกิจศึกษาทั้งจากมหาวิทยาลัยของรัฐ และเอกชน ที่ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ โดยจำแนกตามกลุ่มธุรกิจ ซึ่งผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามไปสำรวจ นักศึกษาสหกิจศึกษาที่กำลังปฏิบัติงานอยู่ในสถานประกอบการในขณะนั้น และคัดเลือกแบบสอบถามที่มีความสมบูรณ์ จำนวน 396 ชุด จากนั้น นำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน T-test และF-testผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาสหกิจศึกษามีความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานในภาพรวมอยู่ในระดับมากแทบทุกด้าน ยกเว้น ความเหมาะสมของสวัสดิการ ค่าตอบแทน และการปัจฉิมนิเทศ ซึ่งมีความพึงพอใจในระดับปานกลาง ทั้งนี้ นักศึกษาสหกิจศึกษา จาก มหาวิทยาลัยเอกชน มีความพึงพอใจ ต่อการปฏิบัติงานสูงกว่านักศึกษาสหกิจศึกษาที่มาจาก มหาวิทยาลัยของรัฐ โดยนักศึกษาสหกิจศึกษาที่ปฏิบัติงานในธุรกิจท่องเที่ยวธุรกิจการบิน และธุรกิจโรงแรม มีความพึงพอใจแตกต่างกันในเรื่องการปฐมนิเทศการให้คำปรึกษาการทำโครงงาน ความเหมาะสมของเวลาในการพักรับประทานอาหาร ความเหมาะสมของวันหยุด อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน และการปัจฉิมนิเทศ โดย นักศึกษาสหกิจศึกษาที่ปฏิบัติงานในธุรกิจการบิน จะมีความพึงพอใจในเรื่องดังกล่าวข้างต้นสูงกว่า นักศึกษาที่ปฏิบัติงานในธุรกิจโรงแรม และธุรกิจท่องเที่ยว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

คำสำคัญ              :  ความพึงพอใจ, การปฏิบัติงานสหกิจศึกษา, ธุรกิจบริการ

Abstract            :  This study aims to explore public and private university students’ satisfaction with co-operative education system of working in the service sector. The research compares the different levels of satisfaction in the hotel, tourism, and airline business. The questionnaires were distributed to 420 purposively selected students from private and public universities who register ed in the co-operative education programs. The 396 completed questionnaires were analyzed through SPSS statistical analysis program, using frequency, percentage, mean, standard deviation, T-test and F-test as statistical techniques.

It was found that the students in the co-operative education program were highly satisfied with the overall working except the welfare and/or remuneration and the final orientation. The students from private universities had higher level of satisfaction than those from public universities. The co-operative education students in hotel, tourism, and airline business revealed different levels of satisfaction in the areas of project design consultation, length of lunch time, suitability of the time off, equipment and facilities in operation and the final orientation. The co-operative education students in airline business had significantly higher level of satisfaction than those in hotel and tourism business at p = 0.05.

Keywords         :  students, satisfaction, working cooperative, service sector

Download PDF  :    ความพึงพอใจของนักศึกษา ที่ปฏิบัติงานในธุรกิจบริการตามระบบสหกิจศึกษา


Publication        : วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2555) Journal of Thai Hospitaliity & Tourism Vol.7 No.1 (January-June 2012)

Link to Publication:   https://www.tci-thaijo.org/index.php/tourismtaat/issue/view/371


Bibliography     :  ชลลดา มงคลวนิช. (2555). ความพึงพอใจของนักศึกษา ที่ปฏิบัติงานในธุรกิจบริการตามระบบสหกิจศึกษาวารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย, 7(1), 67-82. 


Quick View

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 12 ปี 2555

[mfn]ปิยะศักดิ์ ชมจันทร์. (2555). ประเด็นปัญหาจากการเปลี่ยนผ่านสู่โทรทัศน์ระบบดิจิทัลของประเทศไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 6-12.[/mfn]   ประเด็นปัญหาจากการเปลี่ยนผ่านสู่โทรทัศน์ระบบดิจิทัลของประเทศไทย 

ปิยะศักดิ์ ชมจันทร์


[mfn]เกศินี บัวดิศ. (2555). โครงสร้างการบริหารการจัดการสื่อสมัยใหม่. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 13-18.[/mfn]   โครงสร้างการบริหารการจัดการสื่อสมัยใหม่

เกศินี บัวดิศ


[mfn]ภัสรา พงษ์สุขเวชกุล. (2555). เทคโนโลยีสื่อใหม่กับการสื่อสารในครอบครัวในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 19-35.[/mfn]   เทคโนโลยีสื่อใหม่กับการสื่อสารในครอบครัวในเขตกรุงเทพมหานคร

ภัสรา พงษ์สุขเวชกุล


[mfn]ฐานทัศน์ ชมภูพล. (2555). การเปิดรับข่าวสาร ความคิดเห็น และการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางของผู้บริโภคผ่านสื่อออนไลน์. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 36-59.[/mfn]   การเปิดรับข่าวสาร ความคิดเห็น และการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางของผู้บริโภคผ่านสื่อออนไลน์

ฐานทัศน์ ชมภูพล


[mfn]ธีรวันท์ โอภาสบุตร. (2555). ชื่อเสียงองค์กรมีได้เพียงหนึ่งเดียว หรือมีได้มากกว่าหนึ่งชื่อเสียง. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 60-85.[/mfn]   ชื่อเสียงองค์กรมีได้เพียงหนึ่งเดียว หรือมีได้มากกว่าหนึ่งชื่อเสียง

ธีรวันท์ โอภาสบุตร


[mfn]เกศินี บัวดิศ. (2555). ภาพลักษณ์กับทิศทางเพื่อการประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 86-94.[/mfn]   ภาพลักษณ์กับทิศทางเพื่อการประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย

เกศินี บัวดิศ


[mfn]สุนทรี อาภานุกูล และ จุฑา ติงศภัทิย์. (2555). การศึกษากลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ของการแข่งขันเทนนิส พีทีที ไทยแลนด์ โอเพ่น 2553. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 95-106.[/mfn]   การศึกษากลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ของการแข่งขันเทนนิส พีทีที ไทยแลนด์ โอเพ่น 2553

สุนทรี อาภานุกูล และ จุฑา ติงศภัทิย์


[mfn]เอกสิทธิ์ อวยชัยวัฒน์. (2555). กลยุทธ์การโฆษณาหาเสียงเลือกตั้งของพรรคการเมืองไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 107-121.[/mfn]   กลยุทธ์การโฆษณาหาเสียงเลือกตั้งของพรรคการเมืองไทย

เอกสิทธิ์ อวยชัยวัฒน์


[mfn]ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง และ ธนัช นนท์ขุนทด. (2555). การสื่อสารมวลชนของกัมพูชา และเวียดนาม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 122-127.[/mfn]   การสื่อสารมวลชนของกัมพูชา และเวียดนาม

ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง และ ธนัช นนท์ขุนทด


[mfn]สุริยะ ฉายะเจริญ. (2555). สัญลักษณ์ของธงชาติไทยในศิลปะร่วมสมัย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 128-149.[/mfn]   สัญลักษณ์ของธงชาติไทยในศิลปะร่วมสมัย

สุริยะ ฉายะเจริญ


[mfn]กิตติธัช ศรีฟ้า. (2555). สัญลักษณ์อุณาโลมการสื่อความความหมายของสัญลักษณ์จากอดีตสู่ปัจจุบัน. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 150-158.[/mfn]   สัญลักษณ์อุณาโลมการสื่อความความหมายของสัญลักษณ์จากอดีตสู่ปัจจุบัน

กิตติธัช ศรีฟ้า


[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ, ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง, สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์ และ ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์. (2555). การใช้สื่อออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2553. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 159-164.[/mfn]   การใช้สื่อออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2553

ศิริชัย ศิริกายะ, ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง, สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์ และ ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์


[mfn]สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์. (2555). บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคเหนือ). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 165-168.[/mfn]   บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคเหนือ)

สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์


[mfn]สุปรียา กลิ่นสุวรรณ. (2555). บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคใต้). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 169-170.[/mfn]   บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคใต้)

สุปรียา กลิ่นสุวรรณ


[mfn]ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์. (2555). บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (กรุงเทพมหานคร). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 171-173.[/mfn]   บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (กรุงเทพมหานคร)

ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์


[mfn]กัลยกร นรภัทรทวีพร. (2555). บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคกลาง). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 174-175.[/mfn]   บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคกลาง)

กัลยกร นรภัทรทวีพร


วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 12 ปี 2555 Siam Communication Review Vol11 No12 2012

Quick View

วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่13 ลำดับที่24 ปี 2555

– Delaunay Adaptive Remeshing Technique for Finite Element/Finite Volume Methods
โดย Sutthisak Phongthanapanich


– เครื่องควบคุมอุณหภูมิผ่านระบบโทรศัพท์มือถือ
โดย แสงระวี บัวแก้ว และ วิภาวัลย์ นาคทรัพย์


– การศึกษาสมรรถนะของเครื่องตะบันน้ำ
โดย บัญญัติ นิยมวาส และ บรรเจิด โปฏกรัตน์


– รูปแบบเริ่มต้นของฮิวริสติกแบบไปข้างหน้าของปัญหาการตัดแบ่งชิ้นงานหนึ่งมิติ
โดย จตุพร ใจดำรงค์


– การเพิ่มสมรรถนะทางความร้อนของ Vapor chamber โดยติดตั้งท่อบนส่วนควบแน่น
โดย วสันต์ ศรีเมือง และ ปรีชา ขันติโกมล


– The impact of Information Technology on Society and Business
โดย Nucharee Premchaiswadi


– การตัดสินใจขยายการลงทุนของผู้บริการเครือข่ายอุปกรณ์เคลื่อนที่เจ้าของโครงข่ายในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมโดยใช้เครื่องมือ Real Options Analysis
โดย วิเชียร เปรมชัยสวัสดิ์ และ สันติ พัฒนะวิชัย


– การทำเวฟเลตลายน้ำเสียงที่ทนทานต่อการบีบอัดแบบ MPEG
โดย พัชรินทร์ อาตมียะนันท์ และ สรกฤช ศรีเกษม


วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 ลำดับที่ 24 ปี 2555 Engineering Journal of Siam University Vol.13 Issue 1 No.24 2012

Quick View

วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่13 ลำดับที่25 ปี 2555

– อิทธิพลตัวแปรการเชื่อมแบบหมุนวนอิเลกโทรดต่อสมบัติของโลหะเชื่อมเหล็กกล้าไร้สนิม 304
โดย กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ ,บุญส่ง จงกลนี และ ประจักษ์ อ่างบุญตา


– การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้เทอร์โมพลาสติกจากแป้งเป็นวัสดุประสานในกระบวนการฉีดขึ้นรูปโลหะ
โดย ภชนก จิตร์เที่ยง ปาลิตา สัจจะบุตร1 สุรศักดิ์ สุรนันทชัย  และอัญชลี มโนนุกุล


– การพัฒนาระบบคลังข้อสอบออนไลน์แบบมีวงจรการวิเคราะห์ข้อสอบอัตโนมัติ
โดย สุโกศล วโนทยาพิทักษ์


– การศึกษากระแสไฟฟ้ าขณะหลอมละลายสำหรับฟิวส์หลอดแก้วกำลังต่ำ
โดย ชิตพงษ์ เกตุถนอม และ ชัยชนะ ชัยจำรัส


– การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เวก้าในการจำแนกประเภทข้อมูล
โดย นิเวศ จิระวิชิตชัย


– Combined Segregated Finite Element method and SUPG for Conjugate Heat Transfer Problems
โดย Atipong Malatip, and Sutthisak Phongthanapanich


– ผลกระทบเนื่องจากแรงลม (มยผ. 1311-50) และแรงแผ่นดินไหว (มยผ.1302-52) ต่อการออกแบบแผ่นพื้นไร้คานคอนกรีตอัดแรง 
โดย ฉัตร สุจินดา


– การพัฒนาเชื้อเพลิงและสารป้อนในอุตสาหกรรมจากสารอนุพันธ์ชีวมวลด้วยการเร่งปฏิกิริยาเคมี
โดย Catalytic Chemistry ,อาทิตย์ อัศวสุขี


วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 ลำดับที่ 25 ปี 2555 Engineering Journal of Siam University Vol.13 Issue 2 No.25 2012

Quick View
วารสารเทคโนโลยีการอาหาร-มหาวิทยาลัยสยาม-ปีที่8-ฉบับที่1-มิย55-พค56

วารสารเทคโนโลยีการอาหาร ปีที่8 ฉบับที่1 มิ.ย.2555–พ.ค.2556

บทบรรณาธิการ


บทความวิชาการ

[mfn]กอบศักดิ์ กาญจนาพงศ์กุล. (2555-2556). การผลิตเส้นใยนาโนจากวัสดุชีวภาพด้วยเทคนิคการปั่นด้วยไฟฟ้าสถิต. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 8(1), 1-11.[/mfn]   การผลิตเส้นใยนาโนจากวัสดุชีวภาพด้วยเทคนิคการปั่นด้วยไฟฟ้าสถิต (Production of Nanofibers from Biomaterials Using Electrospinning Technique)

กอบศักดิ์ กาญจนาพงศ์กุล


[mfn]นราธิป ปุณเกษม. (2555-2556). ผลของไฮโดรคอลลอยด์ต่อสเตลิงในขนมปัง. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 8(1), 12-20.[/mfn]   ผลของไฮโดรคอลลอยด์ต่อสเตลิงในขนมปัง Effect of Hydrocolloids on the Bread Staling

นราธิป ปุณเกษม


บทคัดย่อ

[mfn]ธัญญาภรณ์ ศิริเลิศ, ศิริพร ขำเลิศ และสุจิตรา บุญพิมพ์. (2555-2556). การศึกษาสมบัติของสารให้ความคงตัวและสารอิมัลซิไฟเออร์ในผลิตภัณฑ์ครีมเทียม จากข้าวและการนำไปใช้ประโยชน์ในอาหาร. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 8(1), 21-34.[/mfn]   การศึกษาสมบัติของสารให้ความคงตัวและสารอิมัลซิไฟเออร์ในผลิตภัณฑ์ครีมเทียม จากข้าวและการนำไปใช้ประโยชน์ในอาหาร

Study on the Properties of Stabilizers and Emulsifier in Nondairy Creamer from Rice and Food Application

ธัญญาภรณ์ ศิริเลิศ  ศิริพร ขำเลิศ และสุจิตรา บุญพิมพ์


[mfn]กาญจนา มหัทธนทวี, คุลิกา จันทรศรี และดวงตา สว่างภพ. (2555-2556). ข้าวกล้องผสมหุงสุกไว. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 8(1), 35-46.[/mfn]   ข้าวกล้องผสมหุงสุกไว Quick-Cooking Mixed Brown Rice

กาญจนา มหัทธนทวี คุลิกา จันทรศรี และดวงตา สว่างภพ


[mfn]Sasithorn Kongruang. (2555-2556). Optimization of Xanthan Production with Xanthomonas campestris by Response Surface Methodology. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 8(1), 47-59.[/mfn]   Optimization of Xanthan Production with Xanthomonas campestris by Response Surface Methodology

Sasithorn Kongruang


–    ใบสมัครขอส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม คำแนะนำสำหรับผู้เขียนวารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม (Guidelines for Authors in Journal of Food Technology, Siam University)

 

Quick View

สยามวิชาการ ปีที่13 ฉบับที่20 ปี 2555

[mfn]ทวีเกียรต์ ประพฤทธิ์ตระกูล. (2555). ตัวแบบการจัดการองค์การเพื่อความได้เปรียบในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์. สยามวิชาการ, 13(1), 3-20.[/mfn]   ตัวแบบการจัดการองค์การเพื่อความได้เปรียบในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

ทวีเกียรต์ ประพฤทธิ์ตระกูล


[mfn]เบญจวรรณ บวรกุลภา. (2555). การพัฒนากลยุทธ์การตลาดผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาไทยในแหล่งท่องเที่ยวภาคกลางตอนล่าง. สยามวิชาการ, 13(1), 21-34.[/mfn]   การพัฒนากลยุทธ์การตลาดผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาไทยในแหล่งท่องเที่ยวภาคกลางตอนล่าง

เบญจวรรณ บวรกุลภา


[mfn]Limsiritong, K.,  Limsiritong, N.,  and  Kattiyapornpong, U. (2012). Perceived service quality and satisfaction of a fitness club at Port Stephen,Australia. Siam Academic Review, 13(1), 35-42.[/mfn]   Perceived Service Quality and Satisfaction of a Fitness Club at Port Stephen, Australia

Limsiritong, K.,  Limsiritong, N.,  and  Kattiyapornpong, U.


[mfn]Panyasiri, C. (2012). Beyond management fashions : Perspectives from symbolic – Interpretive and postmodernism. Siam Academic Review, 13(1), 43-58.[/mfn]   Beyond Management Fashions : Perspectives From Symbolic – Interpretive and Postmodernism

Panyasiri, C.


[mfn]กฤษณฤทธิ์ จะยี. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการออมของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสยาม.สยามวิชาการ, 13(1), 59-66.[/mfn]   ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการออมของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสยาม

กฤษณฤทธิ์ จะยี


[mfn]พระคำพุด จิตตะพอน. (2555). พฤติกรรมและความพึงพอใจของลูกค้าต่อส่วนประสมการตลาดบริการของธนาคารกสิกรไทย สาขาถนนลาดหญ้า กรุงเทพมหานคร. สยามวิชาการ, 13(1), 67-82.[/mfn]   พฤติกรรมและความพึงพอใจของลูกค้าต่อส่วนประสมการตลาดบริการของธนาคารกสิกรไทย สาขาถนนลาดหญ้า กรุงเทพมหานคร

พระคำพุด จิตตะพอน


[mfn]พระมหาบัว ปิยวณฺโณ, อุษณีย์ เจริญพิพัฒน์ผล และ  บุญส่ง หาญพานิช. (2555). การบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา ในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน กลุ่มโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาภาคกลาง. สยามวิชาการ, 13(1), 83-92.[/mfn]   การบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน กลุ่มโรงเรียนการกุศล ของวัดในพระพุทธศาสนาภาคกลาง

พระมหาบัว ปิยวณฺโณ (ศรีสมบัติ)  อุษณีย์ เจริญพิพัฒน์ผล  บุญส่ง หาญพานิช


[mfn]สมชาย สุเทศ. (2555). การบริหารการจัดการภาครัฐแนวใหม่ขององค์การบริหาร ส่วนตำบล ในจังหวัดนครปฐม. สยามวิชาการ, 13(1), 93-102.[/mfn]   การบริหารการจัดการภาครัฐแนวใหม่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ในจังหวัดนครปฐม

สมชาย สุเทศ


[mfn]นรเสฏฐ์ นาคภัทระพงศ์. (2555). การบริหารจัดการกระทรวงมหาดไทยของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. สยามวิชาการ, 13(1), 103-122.[/mfn]   การบริหารจัดการกระทรวงมหาดไทยของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

นรเสฏฐ์ นาคภัทระพงศ์


[mfn]พีรพงศ์ รำพึงจิตต์. (2555). การพัฒนาองค์การภาครัฐยุคใหม่ของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด. สยามวิชาการ, 13(1), 123-140.[/mfn]   การพัฒนาองค์การภาครัฐยุคใหม่ของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด

พีรพงศ์ รำพึงจิตต์


[mfn]สุภาณี อินทน์จันทน์. (2555). การพัฒนานวัตกรรมการจัดการเพื่อยกระดับกลุ่มหัตกรรม OTOP จังหวัดสมุทรสาคร. สยามวิชาการ, 13(1), 141-154.[/mfn]   การพัฒนานวัตกรรมการจัดการเพื่อยกระดับกลุ่มหัตกรรม OTOP จังหวัดสมุทรสาคร

สุภาณี อินทน์จันทน์


วารสารสยามวิชาการ ปีที่ 13 เล่มที่ 1 ฉบับที่ 20 ก.ค. 2555 – ต.ค. 2555 Siam Academic Review Vol. 13 No.1 Issue 20 Jul 2012 -Oct 2012

Quick View