วารสารกระแสวัฒนธรรม-มหาวิทยาลัยสยาม-ปีที่18-ฉบับที่33-มค-มิย2560

กระแสวัฒนธรรม ปีที่ 18 ฉบับที่ 33 ม.ค.-มิ.ย. 2560

กองบรรณาธิการ


บทบรรณาธิการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลลดา มงคลวนิช


สารบัญ


บทความวิจัย

1. การศึกษาศักยภาพอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของรัฐเกรละ ประเทศอินเดีย
คมสิทธิ์  เกียนวัฒนา  และสุจิตรา  สุคนธทรัพย์


2. ภาพถ่ายความงามของศิลปวัฒนธรรมวิถีชาวไทยพุทธ ตำบลปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์
จิรทัศน์ ดาวสมบูรณ์ และเพ็ญนภา มณีอุด


3. รูปแบบการจัดการสื่อสารพิพิธภัณฑ์อุทยานการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร ที่มีผลต่อ ความสำเร็จของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
กิตพล เชิดชูกิจกุล


4. แนวทางการพัฒนาส่วนประสมทางการตลาดของที่ระลึกสำหรับ นักท่องเที่ยวชาวยุโรปและเอเชียในกรุงเทพมหานคร
กฤติกา สายณะรัตร์ชัย


5. การทวงถามในภาษาไทย : การศึกษากลวิธีทางภาษาและข้อคำนึงที่เป็นเหตุจูงใจ
สิทธิธรรม อ่องวุฒิวัฒน์


6. Thatsana Nataya Chatri Dance : A Creative Conservation Process of Performing Arts for Competition

Dusittorn Ngamying


บทความวิชาการ

1. พวงหรีด : วัฒนธรรมตะวันตกที่งอกงามในประเพณีไทย
รุจิราภา งามสระคู


2. จันทบุรี : เมืองท่าชายฝั่งทะเลตะวันออกบนเส้นทางอารยธรรมเขมรกับสยามประเทศไทย
กำพล จำปาพันธ์


3. อัตลักษณ์ในเอกลักษณ์ : พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่น
นงลักษณ์ ลิ้มศิริ

 

Quick View
วารสารกระแสวัฒนธรรม-มหาวิทยาลัยสยาม-ปีที่14-ฉบับที่25-มค-มิย2556

ภาพลักษณ์ตลาดน้ำในสายตาของเยาวชนไทย (2556)

 

ภาพลักษณ์ตลาดน้ำในสายตาของเยาวชนไทย
ผศ.ดร. ชลลดา มงคลวนิช

บทคัดย่อ:
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงภาพลักษณ์ตลาดน้ำในสายตาของเยาวชนไทยและเปรียบเทียบความคิดเห็นของแหล่งท่องเที่ยวประเภทตลาดน้ำของไทย โดยศึกษาถึงลักษณะทางด้านประชากรศาสตร์ของเยาวชนไทย พฤติกรรม และภาพลักษณ์ตลาดน้ำในสายตาของเยาวชนไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักท่องเที่ยวที่เป็นเยาวชนที่เคยเดินทางไปท่องเที่ยวตลาดน้ำในประเทศไทย จำนวน 442 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติการแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean: ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation: S.D.) สถิติt-test กรณีเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย 2 กลุ่ม และใช้สถิติF-test วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA) กรณีเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยมากกว่า 2 กลุ่ม
ผลการศึกษา พบว่า นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีอายุเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 17-18 ปีมีระดับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมากที่สุด โดยรวมมีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์ตลาดน้ำอยู่ในระดับมาก นักท่องเที่ยวมีความคิดเห็นว่าลักษณะของตลาดน้ำน่าจะแสดงถึงวิถีชีวิตในท้องถิ่น มีสินค้าประเภทขนมหวานหรือขนมไทย ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ของที่ระลึกสำหรับซื้อฝาก และต้องการให้มีการเปิดบริการทุกวัน ความชื่นชอบลักษณะของตลาดน้ำด้านการเดินทาง ด้านสถานที่ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก และด้านการบริการ อยู่ในระดับมากในทุกด้าน
ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ตลาดน้ำ พบว่า นักท่องเที่ยวที่มีเพศต่างกันมีความคิดเห็น เกี่ยวกับตลาดน้ำในด้านการเดินทาง ด้านสถานที่ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก และด้านการบริการไม่แตกต่างกัน และจำนวนครั้งที่นักท่องเที่ยวเคยไปเที่ยวตลาดน้ำแตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ตลาดน้ำในด้านการเดินทาง ด้านสถานที่ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก และด้านการบริการ ไม่แตกต่างกัน ผลการเปรียบเทียบ ความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ตลาดน้ำที่นักท่องเที่ยวชื่นชอบรายคู่กับจำนวนครั้งที่เคยไปเที่ยวตลาดน้ำในเรื่อง เกี่ยวกับการบริการด้านการมีมัคคุเทศก์ท้องถิ่น พบว่า นักท่องเที่ยวที่เคยไปเที่ยวตลาดน้ำ 1 ครั้ง กับเคยไปเที่ยวตลาดน้ำมากกว่า 3 ครั้ง มีความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ตลาดน้ำในด้านการบริการที่มีมัคคุเทศก์ท้องถิ่นไว้บริการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ 0.05

คำสำคัญ : ภาพลักษณ์ตลาดน้ำ เยาวชน

 

Quick View
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์-มหาวิทยาลัยสยาม

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 15 ปี 2557

บทบรรณาธิการและสารบัญ


1. แบบจำลองการสื่อสารในยุคดิจิทัล
ศิริชัย ศิริกายะ


2. The Symbolic Appearance of Mara in Thai Temple Murals
กฤษณ์ ทองเลิศ


3 . เรื่องนักสืบในสื่อยอดนิยม
ฉลองรัฐ เฌอมาลย์ชลมารค


4 . พฤติกรรมการใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจในการสื่อสารเพื่อสร้างความหมายในแอพพลิเคชั่นไลน์
อวยพร พานิช
ทัศนีย์ ดำเกิงศักดิ์


5 . การโน้มน้าวใจการตลาดเชิงเนื้อหา
ภานนท์ คุ้มสุภา


6 . เทคนิคการถ่ายภาพรถยนตร์ขณะเคลื่อนที่
อิทธิพล โพธิพันธ์


7 . ปัจจัยที่มีผลต่อการเปิดรับข่าวสารของนักศึกษาคณะนิเทศศาสตร์
ประกิจ อาษา
จารุณี วรรณศิริกุล
สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์


8 . การพัฒนากิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมในชุมชนเต่างอยของโรงงานหลวงอาหารสำเร็จรูปที่ ๓ (เต่างอย) จ.สกลนคร กับ เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาสาขานิเทศศาสตร์
เวทิต ทองจันทร์


9 . กระบวนการสอนเชิงปฏิบัติการเพื่อสื่อความหมายภาพจิตกรรมในหัวข้อ วาดฝัน ฉันจะเป็น… ภายใต้โครงการจิตอาสาพัฒนาเต่างอย
สุริยะ ฉายะเจริญ


10. การพัฒนากล้องถ่ายรูปดิจิทัลส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการใช้กล้องของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
พัฒนพนธ์ งามไพบูลย์สมบัติ


11. รูปแบบการสื่อความหมายที่ปรากฎบนปกนิตยสารรถกระบะ
ญาณเสฏฐ์ ตั้งเขื่อนขันธ์


12. การนำเสนอรายการกีฬาของช่องสื่อโทรทัศน์ดาวเทียม SMM TV
วรพจน์ อัศวพงษ์โชติ


13. การสร้างเว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์ของเล่นพื้นบ้านไทยสำหรับพิพิธภัณฑ์เล่นได้ จังหวัดเชียงราย
วรางคณา โตจำสี
พรประภัสสร ปริญชาญกล
ปกรณ์ สุปินานนท์


14. วิจารณ์หนังสือ The Theater Experience ของ Edwin Wilson
ชโลธร จันทะวงศ์

Quick View
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์-มหาวิทยาลัยสยาม

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 16 ปี 2558

1. ข้อเสนอแนะประเด็นการสื่อสารเพื่องานวิจัยนิเทศศาสตร์ตามแนวคิด “ปฏิปักษ์สัมพันธ์ ”(Symbiosis)ในยุคดิจิทัล
ศิริชัย ศิริกายะ


2. กระบวนการสร้างสรรค์ภาพวาดเส้นชุด “มะนิลา 2557”
สุริยะ ฉายะเจริญ


3 . การสร้างสรรค์งานภาพถ่ายทางอากาศสำหรับภาพยนตร์โฆษณาอสังหาริมทรัพย์
เวทิต ทองจันทร์


4 . สื่อสังคมออนไลน์เครื่องมือการสื่อสารภาวะวิกฤตในยุคดิจิทัล
กัลยกร นรภัทรทวีพร


5 . พลังแห่งการประชาสัมพันธ์ในการสร้างความแข็งแกร่งให้วัฒนธรรมองค์กร : สืบสาน สอดส่องประสานความเข้าใจในสภาวะการเปลี่ยนแปลง
ธีรวันทร์ โอภาสบุตร


6 . การสื่อสารด้วยลายเส้นเพื่อบ่งบอกถึงลักษณะดีหรือร้ายของตัวการ์ตูนเฉพาะเรื่องที่คัดสรร
ลัทธสิทธิ์ ทวีสุข


7 . ความลงตัวของสื่อและสารในรายการคลับ ฟรายเดย์
ยุทธนา สุวรรณรัตน์


8 . จังหวะของการสื่อสารในรายการโทรทัศน์ประเภทเรียลลิตีเกมส์โชว์ที่คัดสรร
เจตน์จันทร์ เกิดสุข


9 . การศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อโฆษณา ณ จุดซื้อและการตัดสินใจซื้อขนมขบเคี้ยวของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร
กุลธิดา ธรรมวิภัชน์
พรรษา เอกพรประสิทธิ์
ภัชธีญา อ่วมอารีย์


10. ปัจจัยเรื่องการรับรู้ประโยชน์จากการใช้งานเฟสบุ๊กแฟนเพจที่มีต่อการมีส่วนร่วมและการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคคนไทย
วสุพล ตรีโสภากุล
ดุษฎี โยเหลา


11. การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติเพื่อป้องกันสถานการณ์ “คุณแม่วัยใส”
ทัศนีย์ ดำเกิงศักดิ์


12. ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาศักยภาพผู้สื่อข่าวสำนักข่าวไทยของสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ในการเข้าสู่ทีวีดิจิทัล
สกนธ์ จินดาวรรณ


13. พฤติกรรมและความพึงพอใจในการเปิดรับฟังสถานีวิทยุจราจรเพื่อสังคม FM 99.5 MHz ของผู้ขับรถแท็กซี่ในเขตกรุงเทพมหานคร
ฉัตรพัฒน์ บุญมาก
ธนชาติ จันทร์เวโรจน์


14. พฤติกรรมการเปิดรับการรายงานข่าวพยากรณ์อากาศของสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยที่มีผลต่อทัศนคติและการนำข้อมูลข่าวสารไปใช้ประโยชน์
อภิสิทธิ์ จันทร์เต็ม
จินตวีร์ เกษมศุข


15. พฤติกรรมการเปิดรับชมและองค์ประกอบของรายการที่มีผลต่อการอยู่รอดของ ทีวีดิจิทัลประเภทบริการธุรกิจ 24 ช่องในมุมมองของผู้ชมในเขตกรุงเทพมหานคร
น้ำฝน บำรุงศิลป์
พรทิพย์ เย็นจะบก


16. พฤติกรรมการเปิดรับสื่อและความพึงพอใจต่อสื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์ในองค์กรของพนักงานบริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด (สำนักงานใหญ่)
วิลาวัลย์ ศศิตราภรณ์
จินตวีร์ เกษมศุข


17. ปัจจัยการสื่อสารที่มีผลต่อการตัดสินใจติดตามเชียร์สโมสรบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
วรชาติ อดุลยานนท์
กาญจนา มีศิลปวิกกัย


18. ทัศนคติและความพึงพอใจของผู้ชมรายการชาติมั่งคงทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก
ปัณณชน ขัตติสร
กาญจนา มีศิลปวิกกัย


19. Book Review ‘เขียนไปให้สุดฝัน’
ชญาณี ฉลาดธัญญกิจ

Quick View
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์-มหาวิทยาลัยสยาม

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 17 ปี 2558

1. การทบทวนแนวคิด นิยาม และคุณลักษณะของดิจิทัลเนทีฟและดิจิทัลอิมมิแกรนท์
ศุภกร จูฑะพล
พัชนี เชยจรรยา


2. การออกแบบดิจิทัลคอนเทนท์เพื่อสร้างแรงจูงใจในการให้ทุนสนับสนุนโครงการภาพยนตร์แอนิเมชั่น
คมภิญญ์ เข็มกำเนิด


3 . การใช้คาแรคเตอร์การ์ตูนเพื่อสื่อสารทางอารมณ์และความรู้สึกกรณีศึกษาสติ๊กเกอร์ไลน์
สมเกียรติ ศรีเพ็ชร


4 . พฤติกรรมการรับชม ความพึงพอใจ ความต้องการรับชม กรณีศึกษา : ช่องชลบุรี 1
พิชญาภัค พ่วงมา


5 . กระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ “ดิ อะเมซิง เรซ, ฤดูกาลที่ 26, ตอนที่ 3”
ชโลธร จันทะวงศ์


6 . การสร้างสรรค์ภาพนิ่งเพื่อสื่อความเคลื่อนไหวแบบการแพนกล้อง
ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง


7 . การถ่ายภาพแบบแคนดิด คือ หนทางแห่งการบันทึกความบริสุทธิ์
กิตติธัช ศรีฟ้า


8 . ความรู้ในตราสินค้าและความคิดเห็นต่อตราสัญลักษณ์การไฟฟ้านครหลวงของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
เมธี ภู่ศรี


9 . ปัญหาและการแก้ปัญหางานประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภูมิภาคตะวันตก
ธนารีย์ สะสุนทร


10. พฤติกรรมการเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ ความรู้ความเข้าใจทัศนคติและพฤติกรรมการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นของเยาวชนในจังหวัดฉะเชิงเทรา
อรุณ คงดี


11. พฤติกรรมการเปิดรับ ทัศนคติ ปัจจัยสื่อสารทางการตลาดและการตัดสินใจลงโฆษณาในนิตยสารแจกฟรีในจังหวัดระยองของผู้มีอำนาจตัดสินใจซื้อโฆษณา
พิมลณัฐ ณัฐชยางยุทธ์


12. โฆษณากับการซื้อสินค้าของแรงงานต่างชาติในเขตภาษีเจริญ
เอกสิทธิ์ อวยชัยวัฒน์
ปวรรศ จันทร์เพ็ญ


13. การเปิดรับข่าวสาร พฤติกรรมการซื้อ ความคิดเห็น และการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อลดนํ้าหนักที่จำหน่ายผ่านสื่อออนไลน์ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
เสาวนีย์ เทพพนมรัตน์


14. พฤติกรรมการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตและส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อการควบคุมนํ้าหนักของประชากรในจังหวัดชลบุรี
จิฑามาส ไพรจิตรสุวรรณ


15. ทัศนคติ และความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในเขตจังหวัดชลบุรีที่มีต่อธนาคารกสิกรไทย จำกัด
อรวดี น้อยแก่น
ปริยา รินรัตนากร


16. การใช้วงจรควบคุมคุณภาพพีดีซีเอในการจัดทำหนังสือพิมพ์สยามเพรส (ภาควิชาการหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม)
สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์
ประกิจ อาษา
จารุณี วรรณศิริกุล


17. การวิเคราะห์วาทกรรมจาก “ข่าว กทม.” ในหนังสือพิมพ์รายวันที่เผยแพร่ช่วงการชุมนุมทางการเมืองของกลุ่ม กปปส.
รัฐเขต ปรีชล


18. การจัดการการสื่อสารเพื่อการจัดระเบียบชุมชนและสถานบันเทิงชุมชนคลองหก จังหวัดปทุมธานี
ณพนันท์ ขอจิตต์เมตต์


19. วิจารณ์หนังสือ “พลังแห่งการประชาสัมพันธ์” ของ รองศาสตราจารย์ รุ่งนภา พิตรปรีชา
ธีรวันท์ โอภาสบุตร

Quick View
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์-มหาวิทยาลัยสยาม

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 15 ฉบับ 18 ปี 2559

1.  ห้องหุ่น: ศิลป์แห่งบทละครที่ไม่จางหาย The Study of HongHoon: The Unfailing Art of Play Script Writing

วรสิริ วัดเข้าหลาม

วรวุฒิ ทัดบรรทม


2.  การใช้สื่อเพื่อการเผยแพร่และส่งเสริมของสโมสรฟุตบอล พะเยาเอฟซี Using the Media for the Dissemination and Promotion of Phayao FC

ดิษฐา จำปาแขก


3.  รายการโทรทัศน์สำหรับเด็ก : บทบาทของสื่อเพื่อการเรียนรู้ของเด็ก? Children TV Programs: The Role of Media for Children’s Learning?

สุภาณี นิตย์เสมอ


4.  Changes in Space, Place and the Role of Thai Classical Puppet Theater “Joe Louis”

ชโลธร จันทะวงศ์


5. กระบวนการสร้างสรรค์ภาพจิตรกรรม: กรณีศึกษาจิตรกรรมร่วมสมัยนิทรรศการ “It’s me” The Process of Creating a Painting: A Case Study of Contemporary Painting Exhibition “It’s me”

สุริยะ ฉายะเจริญ


6.  การสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ “รายการ แอนิเมชั่นคลับ” ซีซัน 1The Creation of TV Program “Animation Club” Season

ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง

เจตน์จันทร์ เกิดสุข

ลัทธสิทธิ์ ทวีสุข


7.  การสร้างสรรค์สัญลักษณ์ในเครื่องแต่งกายตัวละคร กรณีศึกษาภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์ เรื่อง มหาศึกชิงบัลลังก์ The Symbolic Creation in Character’s Costume Case Study Television Series Game of Thrones

จุฑารัตน์ การะเกตุ


 

8.  กระบวนการสร้างสรรค์ลีลาท่าทางในการแสดงชุด “วิถีแห่งสุวรรณภูมิ”

วณิชชา ภราดรสุธรรม


9.  การสร้างสรรค์ภาพถ่ายความเร็วชัตเตอร์ต่ำ (Long Exposure) ด้วยฟิล์มกรองแสงติดรถยนต์ วัฒนา เจริญชัยนพกุล

จักรีรัตน์ แสงวารี


10.  การออกแบบแอปพลิเคชั่นเพื่อแนะนำการบริโภคผลไม้ไทย Digital Content Design for Teaching How to Consume Thai Tropical Fruits

เฉลิมพันธ์ ธโนปจัย


11.  การออกแบบสัญลักษณ์แสดงสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่สะท้อนผลิตภัณฑ์ 3 จังหวัดภาคเหนือ The Identity Design of Geographical Indication to Represent the Local Products of 3 Northern Provinces

ชนินาถ จองมั่นคง


12.  การรับรู้ข่าวสารและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมองค์กรเพื่อสังคม (CSR) ของพนักงานธนาคารไทยพาณิชย์จำกัด (มหาชน) Information Perception and Participation in Corporate Social Responsibility (CSR) of Employees at Siam Commercial Bank Public Company Limited

เพ็ญประภา วงศ์ทอง

ผศ.ดร.ศศิพรรณ บิลมาโนชญ์


13.  เลขนศิลป์เพื่อการนำเสนอบุคลิกสินค้าในสื่อสังคมออนไลน์ Visual Communication Design for Product Personality Represent in Social Media

อภินันท์ อินนุพัฒน์


14.  พฤติกรรมการสื่อสารและการใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสังคมออนไลน์ในการทำงานของผู้สื่อข่าวสำนักข่าวเนชั่น Communication Behaviors and Social Network Uses for Working of the Nation News Agency’s Reporters

ลินลดา กองเซ็น

ผศ.ดร.ศศิพรรณ บิลมาโนชญ์


15.  การพัฒนาการสื่อสารเพื่อส่งเสริมจิตสาธารณะนักศึกษามหาวิทยาลัยที่เลือกสรร Development of Communication to Enhance Service Mind of Selected University Students

สุภาภรณ์ แดงศรี

ดร.มนทิรา ธาดาอำนวยชัย


16.  กระบวนการผลิตเพลงประกอบภาพยนตร์โฆษณาขนมขบเคี้ยวที่คัดสรร
The Production Process of Score Soundtrack of Selected Snack Advertisements

กนกวรรณ พันสิทธิวรกุล

สุธี พลพงษ์


17.  การวิเคราะห์การออกแบบและสื่อความหมายบนบรรจุภัณฑ์ของขนมขบเคี้ยวที่คัดสรร Design and Meaning Communications Analysis of Selected Snack’s Packing

จันทราวรรณ บำเรอรักษ์

สุธี พลพงษ์


18.  อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อลูกค้าชาวมุสลิมในการใช้เฟชบุ๊ก เพื่อตัดสินใจใช้บริการ กรณีศึกษาร้านอาหารอิบติซาม

นักศึกษา มหาวิทยาลัยศรีปทุม


19.  วิจารณ์หนังสือ ‘หลักนิเทศศาสตร์’

อาจารย์พิชญาพร ประครองใจ, จารุณี วรรณศิริกุล

Quick View
วารสารเทคโนโลยีการอาหาร -มหาวิทยาลัยสยาม- ปีที่5-ฉบับที่1-มิย-2552-พค-2553

วารสารเทคโนโลยีการอาหาร ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มิ.ย.2552-พ.ค.2553

บทความวิชาการ

–     การจัดการระบบสายโซ่ความเย็นในผลิตผลสด : Cool Chain Management for Fresh Produce 

สมภพ อยู่เอ


–     แอสตาแซนธิน: คุณค่าที่มากกว่าความเป็นสี Astaxanthin : More Values than Solely As a Colorant 

ดร.วรรณวิมล คล้ายประดิษฐ์ และ ดร.มารุจ ลิมปะวัฒนะ


–     ความสาคัญของกลิ่นรสอาหาร กับการตรวจวิเคราะห์กลิ่นอาหารโดยเทคนิค : Gas Chromatography-Olfactometry (GC-O)

ดร. กาญจนา มหัทธนทวี


บทคัดย่อ

–     การพัฒนาเนื้อสัมผัสของก๋วยเตี๋ยวเส้นเล็กและการลวกสุกไว Development of Rice Noodle : Texture and Quick Blanching Time

ธัญญาภรณ์ ศิริเลิศ


–     การใช้อีควาเซียทดแทนไขมันบางส่วนในผลิตภัณฑ์เค้กเนย : Partial Utilization of Equcia as Fat Replacer in Butter Cake 

จิรนาถ บุญคง และ นนทิภา ราชชมภู


–     การพัฒนาสูตรไอศกรีมจากน้อยหน่าโดยใช้ผงเมือกจากเมล็ดแมงลักเป็นสารให้ความคงตัว : Development of Ice Cream Formulation from Custard Apple Using Mucilage Powder from

Hairy Basil Seed (Ocimum canum Sims) as a Stabilizer

ปิยนุสร์ น้อยด้วง และ ระวิวรรณ วงศ์วรรณ


–     การผลิตเอนไซม์อะไมเลสจาก Bacillus sp. ไอโซเลต A : Amylase Production from Bacillus sp. isolate A 

อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์ และ สาวิตรี ล้้าเหลือหลาย


–     คุณลักษณะของเอนไซม์พอลิฟีนอลออกซิเดสในกล้วยน้าว้า Musa sapientum Linn. : Characterization of Polyphenol Oxidase (PPO) in Banana (Musa sapientum Linn.)

สมฤดี ไทพาณิชย์ และ ธิดารัตน์แย้มอาษา


–     การผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยวจากแป้งข้าวหอมนิล : The production of noodle from Hom Nin rice flour 

อริสรา รอดมุ้ย


–     ใบสมัครขอส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม คำแนะนำสำหรับผู้เขียนวารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยา (Guidelines for Authors in Journal of Food Technology, Siam University)


 

Quick View
วารสารเทคโนโลยีการอาหาร-มหาวิทยาลัยสยาม-ปีที่10-ฉบับที่1-ตค57-กย58

วารสารเทคโนโลยีการอาหาร ปีที่10 ฉบับที่1 ต.ค.2557–ก.ย.2558

บทบรรณาธิการ


[mfn]อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์, ชนิตา ชูพรม และ อายูรีน มานะ. (2557-2558). การคัดแยกแบคทีเรียชอบเค็มที่ผลิตเอนไซม์โปรติเอสจากปลาร้า. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 10(1), 1-8.[/mfn]   การคัดแยกแบคทีเรียชอบเค็มที่ผลิตเอนไซม์โปรติเอสจากปลาร้า Screening of Protease Producing Halophilic Bacteria from Fermented Fish (Pla-ra)
อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์ ชนิตา ชูพรม และ อายูรีน มานะ


[mfn]ปิยนุสร์ น้อยด้วง, ณัฐพร ตะเภาทอง และ เกศรินทร์ มาสิลีรังสี. (2557-2558). การใช้ผงเยื่อฟักข้าวแห้งเป็นสารกันหืนในผลิตภัณฑ์มายองเนส. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 10(1), 9-18.[/mfn]   การใช้ผงเยื่อฟักข้าวแห้งเป็นสารกันหืนในผลิตภัณฑ์มายองเนส Use of Dried Aril of Gac Fruit Powder as an Antioxidant in Mayonnaise Product
ปิยนุสร์ น้อยด้วง ณัฐพร ตะเภาทอง และ เกศรินทร์ มาสิลีรังสี


[mfn]จิรนาถ บุญคง, ทิพวรรณ บุญมี และพัชราวรรณ เรือนแก้ว . (2557-2558). การใช้แป้งกล้วยหอมทองดิบที่มีสมบัติต้านทานการย่อยสลายด้วยเอนไซม์ในผลิตภัณฑ์พาสต้า. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 10(1), 19-29.[/mfn]   การใช้แป้งกล้วยหอมทองดิบที่มีสมบัติต้านทานการย่อยสลายด้วยเอนไซม์ในผลิตภัณฑ์พาสต้า Application of Resistant Starch from Unripe Banana “Hom Thong” (Musa sapientum L., AAA group) in Pasta
จิรนาถ บุญคง  ทิพวรรณ บุญมี และพัชราวรรณ เรือนแก้ว


[mfn]อินทาวุธ สรรพวรสถิตย์, กรุณาพร ปานวรณ์, ชุติกา เกียรติเรืองไกร และสายวรุฬ ชัยวานิชศิริ. (2557-2558). ผลของวิธีการหุงต่อปริมาณกรดแกมมาอะมิโนบิวทิริก (กาบา) และสมบัติทางเคมีกายภาพของข้าวกล้องงอก . วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 10(1), 30-41.[/mfn]   ผลของวิธีการหุงต่อปริมาณกรดแกมมาอะมิโนบิวทิริก (กาบา) และสมบัติทางเคมีกายภาพของข้าวกล้องงอก Effect of Cooking Methods on γ-aminobutyric Acid Content and Physico-chemical Properties of Germinated Brown Rice
อินทาวุธ สรรพวรสถิตย์  กรุณาพร ปานวรณ์ ชุติกา เกียรติเรืองไกร และสายวรุฬ ชัยวานิชศิริ


[mfn]ธารารัตน์ จินดาไทย, วรรณภา ชูเสียง และ กอบศักดิ์ กาญจนาพงศ์กุล. (2557-2558). ผลของอุณหภูมิและความสุกต่อค่าการนาไฟฟ้า ความชื้น และปริมาณของแข็งที่ละลายน้าได้ของ กล้วยน้าว้าระหว่างกระบวนการให้ความร้อนแบบโอห์มมิค. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 10(1), 42-50.[/mfn]   ผลของอุณหภูมิและความสุกต่อค่าการนาไฟฟ้า ความชื้น และปริมาณของแข็งที่ละลายน้าได้ของ กล้วยน้าว้าระหว่างกระบวนการให้ความร้อนแบบโอห์มมิค
Effects of Temperature and Degree of Maturity on Electrical Conductivity, Moisture Content and Total Soluble Solid of Banana (Musa sapientum Linn or “Nam wa”) during Ohmic Heating
ธารารัตน์ จินดาไทย  วรรณภา ชูเสียง และ กอบศักดิ์ กาญจนาพงศ์กุล


[mfn]กิติพงศ์ อัศตรกุล. (2557-2558). รังสียูวี: เทคโนโลยีใหม่ส้าหรับอุตสาหกรรมน้าผลไม้. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 10(1), 51-62.[/mfn]   รังสียูวี: เทคโนโลยีใหม่ส้าหรับอุตสาหกรรมน้าผลไม้ Ultraviolet Radiation: An Emerging Technology for Juice Industry
กิติพงศ์ อัศตรกุล


บทความวิชาการ

[mfn]ณัฏฐิกา ศิลาลาย และ อูริยา รูส. (2557-2558). อิทธิพลขององค์ประกอบที่มีต่อสมบัติเชิงความร้อนและโอกาสของปรากฏการณ์ การเกาะตัวกันเป็นก้อนของผลิตภัณฑ์นมผง. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 10(1), 63-80.[/mfn]   อิทธิพลขององค์ประกอบที่มีต่อสมบัติเชิงความร้อนและโอกาสของปรากฏการณ์ การเกาะตัวกันเป็นก้อนของผลิตภัณฑ์นมผง
Compositional Effect on Thermal Properties and Opportunities of Milk Powder Stickiness Phenomena
ณัฏฐิกา ศิลาลาย และ อูริยา รูส


[mfn]ณัฐดนัย หาญการสุจรติ. (2557-2558). เทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุเพื่อการเพิ่มคุณภาพอาหารแช่เยือกแข็ง. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 10(1), 81-102.[/mfn]   เทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุเพื่อการเพิ่มคุณภาพอาหารแช่เยือกแข็ง Packaging Materials and Technologies for Improving Quality of Frozen Foods
ณัฐดนัย หาญการสุจรติ


–    ใบสมัครขอส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม คำแนะนำสำหรับผู้เขียนวารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม (Guidelines for Authors in Journal of Food Technology, Siam University)

 

Quick View
วารสารเทคโนโลยีการอาหาร-มหาวิทยาลัยสยาม-ปีที่12-ฉบับที่1-มค-ธค-2560

วารสารเทคโนโลยีการอาหาร ปีที่12 ฉบับที่1 ม.ค–ธ.ค.2560

บทบรรณาธิการ


สารบัญ


บทความวิชาการ

[mfn]ศานต์ เศรษฐชัยมงคล และ มยุรี เหลืองวิลัย. (2560). การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเมตาโบโลมิกส์ในการศึกษาข้อมูลแบบแผนทางชีวโมเลกุลของน้านมและผลิตภัณฑ์นม. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 12(1), 1-16.[/mfn]   การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเมตาโบโลมิกส์ในการศึกษาข้อมูลแบบแผนทางชีวโมเลกุลของน้านมและผลิตภัณฑ์นม Application of Metabolomics Technology for Investigation of Biomolecular Profile of Milk and Dairy Products

ศานต์ เศรษฐชัยมงคล และ มยุรี เหลืองวิลัย


บทความวิจัย

[mfn]พนิตา งามเชื้อชิต. (2560). เนื้อมะม่วงสดตัดแต่ง: สรีรวิทยาและปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพ. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 12(1), 17-34.[/mfn]   เนื้อมะม่วงสดตัดแต่ง: สรีรวิทยาและปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพ Fresh-Cut Mango: Physiology and Critical Factors Affecting Quality

พนิตา งามเชื้อชิต


[mfn]ณัฐธิดา โชติช่วง. (2560). อาหารกลมกล่อมด้วยโคคูมิ. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 12(1), 35-47.[/mfn]   อาหารกลมกล่อมด้วยโคคูมิ Food Palatability with Kokumi

ณัฐธิดา โชติช่วง


[mfn]นรินทร์ เจริญพันธ์ และ สุธี วังเตือย. (2560). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวหลามเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตผลเกษตรท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดสระแก้ว. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 12(1), 48-58.[/mfn]   การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวหลามเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตผลเกษตรท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดสระแก้ว Development of Sticky Rice in Bamboo for Value-added Local Agricultural Products in Sakaeo Province Area

นรินทร์ เจริญพันธ์ และ สุธี วังเตือย


[mfn]ดวงกมล เรือนงาม. (2560). สภาวะที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงสาหร่าย Scenedesmus armatus และ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารที่สกัด. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 12(1), 59-70.[/mfn]   สภาวะที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงสาหร่าย Scenedesmus armatus และ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารที่สกัด Optimal Condition for Cultivation of Scenedesmus Armatus Cultivation and Antioxidant Activity of Its Extract

ดวงกมล เรือนงาม


[mfn]กิติพงศ์ อัศตรกุล และ นฤมล หิมะสุทธิเดช. (2560). ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์การยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียของสารสกัดจากหัวหอมและการประยุกต์ใช้ในน้้าผักและผลไม้ผสม. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 12(1), 71-83.[/mfn]   ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์การยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียของสารสกัดจากหัวหอมและการประยุกต์ใช้ในน้้าผักและผลไม้ผสม Antioxidant and Antibacterial Activities of Onion Extract and Applications in Mixed Fruit and Vegetable Juice

กิติพงศ์ อัศตรกุล และ นฤมล หิมะสุทธิเดช


–    ใบสมัครขอส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม คำแนะนำสำหรับผู้เขียนวารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม (Guidelines for Authors in Journal of Food Technology, Siam University)

 

Quick View
วารสารเทคโนโลยีการอาหาร-มหาวิทยาลัยสยาม-ปีที่7-ฉบับที่1-มิย54-พค55

วารสารเทคโนโลยีการอาหาร ปีที่7 ฉบับที่1 มิ.ย.2554–พ.ค.2555

บทความวิชาการ

[mfn]ปิยนุสร์ น้อยด้วง. (2554-2555). กัมและมิวซิเลจจากพืช. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 7(1), 1-10.[/mfn]   กัมและมิวซิเลจจากพืช (Gum and Mucilage from Plants)

ปิยนุสร์ น้อยด้วง


[mfn]ฤทธิชัย อศัวราชนัย์. (2554-2555). การให้ความร้อนแบบโอห์มมิคในการแปรรูปอาหาร. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 7(1), 11-22.[/mfn]   การให้ความร้อนแบบโอห์มมิคในการแปรรูปอาหาร (Ohmic Heating in Food Processing)

ฤทธิชัย อศัวราชนัย์


บทคัดย่อ

[mfn]อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์. (2554-2555). การผลิตนมเปรี้ยวพร้อมดื่มที่เสริมด้วยฟักข้าว. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 7(1), 23-30.[/mfn]   การผลิตนมเปรี้ยวพร้อมดื่มที่เสริมด้วยฟักข้าว Production of Drinking Yogurt Fortified with Gac Fruit

อำพรรณ ชัยกุลเสรีวัฒน์


บทความวิชาการ

[mfn]สมฤดี ไทพาณิชย์. (2554-2555). กระบวนการแปรรูปด้วยเอนไซม์และการทำแห้งด้วยเครื่องอบแห้งแบบพ่นฝอยของไซรัปขนุนชนิดผง. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 7(1), 31-39.[/mfn]   กระบวนการแปรรูปด้วยเอนไซม์และการทำแห้งด้วยเครื่องอบแห้งแบบพ่นฝอยของไซรัปขนุนชนิดผง (Enzymatic Processing and Spray Drying of Jackfruit (Artocarpus heterophyllus Lamk.) Syrup Powder)

สมฤดี ไทพาณิชย์


บทคัดย่อ

[mfn]จิรนาถ บุญคง. (2554-2555). การศึกษาสมบัติทางเคมี-กายภาพของสตาร์ชฟอสเฟตจากเมล็ดขนุน. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 7(1), 40-50.[/mfn]   การศึกษาสมบัติทางเคมี-กายภาพของสตาร์ชฟอสเฟตจากเมล็ดขนุน Study on Physicochemical Properties of Phosphate Starch from Jackfruit Seed (Artocarpus heterophyllus Lamk.)

จิรนาถ บุญคง


[mfn]ณัฏฐิกา ศิลาลาย และยูรียา รูส. (2554-2555). บทบาทของแอลฟ่ารีแลกเซชั่นและกลาสทรานซิชั่น ต่อการเกาะจับตัวกันของนมผง. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 7(1), 51-61.[/mfn]   บทบาทของแอลฟ่ารีแลกเซชั่นและกลาสทรานซิชั่น ต่อการเกาะจับตัวกันของนมผง Roles of -Relaxation and Glass Transition on Stickiness of Milk Powder

ณัฏฐิกา ศิลาลาย และยูรียา รูส


–    ใบสมัครขอส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม คำแนะนำสำหรับผู้เขียนวารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม (Guidelines for Authors in Journal of Food Technology, Siam University) 

 

Quick View