ลักษณะการติดต่อใช้บริการและความพึงพอใจในการใช้บริการรับส่งเงินตราระหว่างประเทศ ผ่านบริการเวสเทิร์นยูเนี่ยนในกรุงเทพมหานคร

 

Title              :  ลักษณะการติดต่อใช้บริการและความพึงพอใจในการใช้บริการรับส่งเงินตราระหว่างประเทศ ผ่านบริการเวสเทิร์นยูเนี่ยนในกรุงเทพมหานคร : Contact Feature Service and Satisfaction of Serving Foreign Currency Transfer via Western Union in Bangkok Metropolis

Researcher       :  อนุสรา จันทร์กามา และ ดร.กานต์จิรา ลิมศิริธง
Department     :  Master of Business Administration, Siam University, Bangkok, Thailand

E-mail                :   ton_tuy@hotmail.com

บทคัดย่อ             :   การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลระหว่างลักษณะการติดต่อใช้บริการและความพึงพอใจในการใช้บริการรับส่งเงินตราระหว่างประเทศ ผ่านบริการเวสเทิร์นยูเนี่ยนในกรุงเทพมหานคร ซึ่งใช้เครื่องมือในการวิจัย คือแบบสอบถามในการเก็บรวมรวบข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จํานวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 57.7 มีอายุระหว่าง 35-44 ปี มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 31.8 ซึ่งมีสถานภาพสมรสมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 59.5 ระดับการศึกษาเป็นกลุ่มปริญญาตรีเป็นส่วนใหญ่คิดเป็นร้อยละ 45.3 มีอาชีพที่เข้าใช้บริการบ่อยๆ ส่วนมากทําธุรกิจส่วนตัวคิดเป็นร้อยละ 42.6 โดยมีรายได้ส่วนใหญ่อยู่ที่ 10,001-20,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 35.1 นอกจากนี้ผลการศึกษาเพิ่มเติมพบว่า ลักษณะการติดต่อใช้บริการ เกี่ยวกับช่วงเวลาในการติดต่อ ช่วงเวลา 14.31-16.30 น. คือช่วงที่มีผู้ใช้บริการมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 21 มีความถี่ในการใช้บริการประมาณ 1-2 ครั้งต่อเดือนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 55.4 และ วัตถุประสงค์ของการเลือกใช้บริการเพื่อทําธุรกิจระหว่างประเทศมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 27.7 ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ลักษณะการติดต่อใช้บริการทางด้านช่วงเวลาในการติดต่อมีผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการรับส่งเงินตราระหว่างประเทศในทุกๆ ด้าน เรียงลําดับสถิติอย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ significant = 0.05 ได้แก่ด้านพนักงาน (significant = 0.000*) ด้านสถานที่ (significant = 0.000*) และด้านระบบการให้บริการ (significant = 0.007*)

คําสําคญั              :  ลักษณะการติดต่อใช้บริการ ความพึงพอใจ เวสเทิร์นยูเนี่ยน

Abstract            :  This research has an objective for study about international influence Contact Feature Service and Satisfaction of serving foreign currency transfer via Western Union in Bangkok Metropolis. By research tool’s the questionnaire data collection from sample group amount 400 persons. The result found that most respondents are male at 57.7%. The mots of Age between 35-44 years old 31.8%. The most of marriage status 59.5%. Education’s level is mostly Bachelor of degree 45.3% there’s an occupation which use service. It’s business’s owner 42.6%. There’re their income between 10,001-20,000 Bath. 35.1%. Beside this there’s additional result found that Contact Feature Service about duration in contact between 02:31 PM – 04:30 PM have the most of customer 21%. The frequency of the service, about 1-2 times a month most. 55.4%. The objective of selection service for make International Business 27.7% The hypothesis testing found that Contact Feature Service in the field of duration of contact have an effect to the satisfactionin serving foreign currency transfer. All of the field. Sort of statistics are a critical level on significant = 0.05 Such as the officer (Significant = 0.000*) The place (Significant = 0.000*) and System service (significant= 0.007*)

Key words         :   Contact Feature Service, Satisfaction, Western Union.


Proceeding       : รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ ปัญญาภิวัฒน์ ครั้งที่ 6 “นวัตกรรมเพื่อการส่งเสริมเศรษฐกิจไทยสู่โลกอนาคต” วันศุกร์ที่ 29 กรกฎาคม 2559 ณ อาคารหอประชุม สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

Link to Proceeding:    https://conference.pim.ac.th/thai/proceeding/

Bibliography     :  อนุสรา จันทร์กามา และ กานต์จิรา ลิมศิริธง. (2559). ลักษณะการติดต่อใช้บริการและความพึงพอใจในการใช้บริการรับส่งเงินตราระหว่างประเทศ ผ่านบริการเวสเทิร์นยูเนี่ยนในกรุงเทพมหานคร. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ ปัญญาภิวัฒน์ ครั้งที่ 6 “นวัตกรรมเพื่อการส่งเสริมเศรษฐกิจไทยสู่โลกอนาคต” (หน้า A323-A333). กรุงเทพฯ: สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์.


Quick View

ลิขสิทธิ์ในงานวิชาการ

 

ชื่อบทความ     :  ลิขสิทธิ์ในงานวิชาการ: Copyright of Academic Works

เจ้าของผลงาน       :  ผศ.ดร.สมหมาย จันทร์เรือง 

หน่วยงาน               :  คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

บทคัดย่อ                :  ลิขสิทธิ์ในงานวิชาการ

คำสำคัญ                :  ลิขสิทธิ์, งานวิชาการ


 

Publication        : วารสารวิชาการ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 พฤษภาคม 2554  APHEIT JOURNAL Vol.17 No.1  May 2011

Link to Publication:    http://apheit.bu.ac.th/index.php/read

Bibliography  : สมหมาย จันทร์เรือง. (2554). ลิขสิทธิ์ในงานวิชาการ. วารสารวิชาการ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 17(1), 179-193.


Quick View

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 10 ปี 2553

  1. แนวทางการศึกษาการสื่อความหมายของงานภาพจิตรกรรมฝาผนังไทย

กฤษณ์ ทองเลิศ


2. การกำกับความหมายของแผนที่ท่องเที่ยวทางอินเทอร์เน็ต

อารีรัตน์ แพทย์นุเคราะห์


3. การสื่อความหมายด้วยท่าเต้นประกอบเพลงจากรายการโทรทัศน์

ธิดา วารีแสงทิพย์


4. การสร้างภาพตัวแทนด้วยการแต่งหน้าเพื่อสื่อความหมายลักษณะตัวละครของละครโทรทัศน์ไทย

กฤษณ์ คำนนท์


5. การศึกษาพฤติกรรมและปัญหาการสื่อสารภายในองค์กรของผู้บริหาร อาจารย์และเจ้าหน้าที่ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

กุลธิดา ธรรมวิภัชน์, เสกสรรค์ แย้มพินิจ และ นิลุบล แหยมอุบล


6. การรับรู้ภาพลักษณ์มหาวิทยาลัยสยามของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในพื้นที่ฝั่งธนบุรี

ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง


7. หน้าที่ของสื่อบนเที่ยวบินระยะไกลของบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน)

ทยา จันทนชาติ


8. การแบ่งเขตพื้นที่ให้บริการกิจการที่ไม่ใช้คลื่นความถี่กิจการโทรทัศน์ที่มีการบอกรับสมาชิก (เคเบิลทีวี)

ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ, เพ็ญพักตร์ เตียวสมบูรณ์กิจ และ จารุพร เลิศพิสัณห์


9. วิจารณ์หนังสืออรรถรสที่สิ้นสูญ : The Lost Symbol

กุลชาติ ศรีโพธิ์


10. วิจารณ์บทความการสื่อความหมายของงานภาพจิตรกรรมฝาผนังไทย

ศรีสกุล ธรรมสุรัติ


วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 10 ปี 2553 Siam Communication Review Vol10 No10 2010

Quick View

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 11 ปี 2553

  1. คุณค่าความถูกต้องและแก่นจินตนาการของผู้รับสารที่มีต่อภาพถ่ายเชิงสารคดีท่องเที่ยวแนวทะเล

กฤษณ์ ทองเลิศ


2. The Odyssey of Elephant: Contemporary Images and Representation

รัฐพล ไชยรัตน์


3. การสื่อความหมายเชิงสัญญะของการสื่อสารเชิงกราฟิกในรายการข่าวโทรทัศน์ไทย

ชินกฤต อุดมลาภไพศาล


4. การสื่อสารเชิงกราฟิกในรายการถ่ายทอดสดการแข่งขันกีฬาทางสื่อโทรทัศน์

กฤษกร ไสยกิจ


5. การสื่อความหมายเกี่ยวกับสัญลักษณ์บ่งชี้ทางภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวของงานภาพถ่ายแฟชั่นในนิตยสารท่องเที่ยวไทย

กฤษณีกร เจริญกุศล


6. พฤติกรรมการใช้จ่ายและความพึงพอใจในการเปิดรับสื่อเพื่อการสื่อสาร การตลาด ของผู้ใช้บริการสตูดิโอถ่ายภาพ Pre-Wedding ในเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

กุลธิดา ธรรมวิภัชน์ และ จิตติพร วรรธนะพิศิษฎ์


7. การใช้สื่ออินเตอร์เน็ตกับทุนทางสังคมของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร

นรินทร์ นำเจริญ, วาลี ขันธุวา, นาฏยา พิลางาม และ องอาจ สิงห์ลำพอง


8. พฤติกรรมและความพึงพอใจในการเปิดรับรายการประเภทข่าวการเมืองทางสื่อโทรทัศน์ช่อง 9 ของประชาชนในเมืองและชนบทจังหวัดสุราษฎร์ธานี

กุลธิดา ธรรมวิภัชน์ และ สุภาษิต นวลเศษ


9. การกำหนดกรอบเนื้อหาของหนังสือพิมพ์รายวันเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี พ.ศ.2551

ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์


10. แนวโน้มการประชาสัมพันธ์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ.2554-2563)

จารุพร เลิศพิสัณห์, สุภาพร ศรีสัตตรัตน์, กัลยกร นรภัทรทวีพร และ พลอยชนก แสนอาทิตย์


11. การบริหารกองถ่ายทำภาพยนตร์ไทย กรณีศึกษาผู้กำกับภาพยนตร์ที่เป็นศิลปินตลก

สมคเน วรวิวัฒน์


12. วิจารณ์หนังสือ ”หลักการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ รองศาสตราจารย์ วิมลพรรณ อาภาเวท”

กัลยกร นรภัทรทวีพร


13. วิจารณ์หนังสือ”ศาสตร์การเขียน : ดร.สุทิติ ขัตติยะ”

สุปรียา กลิ่นสุวรรณ


14. วิจารณ์หนังสือ “การเขียนสร้างสรรค์เชิงวารสารศาสตร์ : ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ปราณี สุรสิทธิ์”

ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์


15. วิจารณ์ “หนังสือการเขียนสารคดีภาคปฏิบัติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธัญญา สังขพันธานนท์”

สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์


วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 11 ปี 2553 Siam Communication Review Vol10 No11 2010

Quick View

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 12 ปี 2555

[mfn]ปิยะศักดิ์ ชมจันทร์. (2555). ประเด็นปัญหาจากการเปลี่ยนผ่านสู่โทรทัศน์ระบบดิจิทัลของประเทศไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 6-12.[/mfn]   ประเด็นปัญหาจากการเปลี่ยนผ่านสู่โทรทัศน์ระบบดิจิทัลของประเทศไทย 

ปิยะศักดิ์ ชมจันทร์


[mfn]เกศินี บัวดิศ. (2555). โครงสร้างการบริหารการจัดการสื่อสมัยใหม่. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 13-18.[/mfn]   โครงสร้างการบริหารการจัดการสื่อสมัยใหม่

เกศินี บัวดิศ


[mfn]ภัสรา พงษ์สุขเวชกุล. (2555). เทคโนโลยีสื่อใหม่กับการสื่อสารในครอบครัวในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 19-35.[/mfn]   เทคโนโลยีสื่อใหม่กับการสื่อสารในครอบครัวในเขตกรุงเทพมหานคร

ภัสรา พงษ์สุขเวชกุล


[mfn]ฐานทัศน์ ชมภูพล. (2555). การเปิดรับข่าวสาร ความคิดเห็น และการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางของผู้บริโภคผ่านสื่อออนไลน์. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 36-59.[/mfn]   การเปิดรับข่าวสาร ความคิดเห็น และการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางของผู้บริโภคผ่านสื่อออนไลน์

ฐานทัศน์ ชมภูพล


[mfn]ธีรวันท์ โอภาสบุตร. (2555). ชื่อเสียงองค์กรมีได้เพียงหนึ่งเดียว หรือมีได้มากกว่าหนึ่งชื่อเสียง. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 60-85.[/mfn]   ชื่อเสียงองค์กรมีได้เพียงหนึ่งเดียว หรือมีได้มากกว่าหนึ่งชื่อเสียง

ธีรวันท์ โอภาสบุตร


[mfn]เกศินี บัวดิศ. (2555). ภาพลักษณ์กับทิศทางเพื่อการประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 86-94.[/mfn]   ภาพลักษณ์กับทิศทางเพื่อการประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย

เกศินี บัวดิศ


[mfn]สุนทรี อาภานุกูล และ จุฑา ติงศภัทิย์. (2555). การศึกษากลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ของการแข่งขันเทนนิส พีทีที ไทยแลนด์ โอเพ่น 2553. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 95-106.[/mfn]   การศึกษากลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ของการแข่งขันเทนนิส พีทีที ไทยแลนด์ โอเพ่น 2553

สุนทรี อาภานุกูล และ จุฑา ติงศภัทิย์


[mfn]เอกสิทธิ์ อวยชัยวัฒน์. (2555). กลยุทธ์การโฆษณาหาเสียงเลือกตั้งของพรรคการเมืองไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 107-121.[/mfn]   กลยุทธ์การโฆษณาหาเสียงเลือกตั้งของพรรคการเมืองไทย

เอกสิทธิ์ อวยชัยวัฒน์


[mfn]ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง และ ธนัช นนท์ขุนทด. (2555). การสื่อสารมวลชนของกัมพูชา และเวียดนาม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 122-127.[/mfn]   การสื่อสารมวลชนของกัมพูชา และเวียดนาม

ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง และ ธนัช นนท์ขุนทด


[mfn]สุริยะ ฉายะเจริญ. (2555). สัญลักษณ์ของธงชาติไทยในศิลปะร่วมสมัย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 128-149.[/mfn]   สัญลักษณ์ของธงชาติไทยในศิลปะร่วมสมัย

สุริยะ ฉายะเจริญ


[mfn]กิตติธัช ศรีฟ้า. (2555). สัญลักษณ์อุณาโลมการสื่อความความหมายของสัญลักษณ์จากอดีตสู่ปัจจุบัน. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 150-158.[/mfn]   สัญลักษณ์อุณาโลมการสื่อความความหมายของสัญลักษณ์จากอดีตสู่ปัจจุบัน

กิตติธัช ศรีฟ้า


[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ, ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง, สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์ และ ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์. (2555). การใช้สื่อออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2553. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 159-164.[/mfn]   การใช้สื่อออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2553

ศิริชัย ศิริกายะ, ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง, สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์ และ ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์


[mfn]สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์. (2555). บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคเหนือ). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 165-168.[/mfn]   บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคเหนือ)

สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์


[mfn]สุปรียา กลิ่นสุวรรณ. (2555). บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคใต้). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 169-170.[/mfn]   บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคใต้)

สุปรียา กลิ่นสุวรรณ


[mfn]ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์. (2555). บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (กรุงเทพมหานคร). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 171-173.[/mfn]   บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (กรุงเทพมหานคร)

ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์


[mfn]กัลยกร นรภัทรทวีพร. (2555). บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคกลาง). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 174-175.[/mfn]   บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคกลาง)

กัลยกร นรภัทรทวีพร


วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 12 ปี 2555 Siam Communication Review Vol11 No12 2012

Quick View

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 13 ปี 2556

[mfn]เวทิต ทองจันทร์. (2556). ปรสิตทางการสื่อสารและการแปลความหมายภาพถ่ายในยุคนวนิยมกับการสร้างสรรค์ภาพถ่ายดิจิทัลบนหน้าปก Facebook.com. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 8-16.[/mfn]   ปรสิตทางการสื่อสารและการแปลความหมายภาพถ่ายในยุคนวนิยมกับการสร้างสรรค์ภาพถ่ายดิจิทัลบนหน้าปก Facebook.com

เวทิต ทองจันทร์


[mfn]สุเทพ เดชะชีพ และ จักรีรัตน์ แสงวารี. (2556). การประชาสัมพันธ์บนสื่อสังคมออนไลน์ในยุคเว็บ 3.0. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 17-26.[/mfn]   การประชาสัมพันธ์บนสื่อสังคมออนไลน์ในยุคเว็บ 3.0

สุเทพ เดชะชีพ และ จักรีรัตน์ แสงวารี


[mfn]อิทธิพล ประเสริฐสังข์์. (2556). การสื่อสารการตลาดบนเฟสบุ๊คของอุปกรณ์สื่อสารแบบพกพาของแอปเปิ้ลและซัมซุง. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 27-36.[/mfn]   การสื่อสารการตลาดบนเฟสบุ๊คของอุปกรณ์สื่อสารแบบพกพาของแอปเปิ้ลและซัมซุง

อิทธิพล ประเสริฐสังข์์


[mfn]สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์. (2556). ช่องทางการเรียนการสอนบนสื่อสังคมออนไลน์ของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 37-42.[/mfn]   ช่องทางการเรียนการสอนบนสื่อสังคมออนไลน์ของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์


[mfn]สุริยะ ฉายะเจริญ (2556). ผลงานดิจิทัลอาร์ตจากงานวิจัยกรณีศึกษาผลงานสร้างสรรค์จากการสันนิษฐานรูปลักษณ์โบราณสถาน. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 43-47.[/mfn]   ผลงานดิจิทัลอาร์ตจากงานวิจัยกรณีศึกษาผลงานสร้างสรรค์จากการสันนิษฐานรูปลักษณ์โบราณสถาน 

สุริยะ ฉายะเจริญ


[mfn]ศศิพรรณ บิลมาโนช. (2556). การใช้วิธีการสื่อสารชุมชนในการพัฒนาชุมชนเชียงแสนเป็นเมืองมรดกโลก. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 48-55.[/mfn]   การใช้วิธีการสื่อสารชุมชนในการพัฒนาชุมชนเชียงแสนเป็นเมืองมรดกโลก

ศศิพรรณ บิลมาโนช


[mfn]ศุภศิลป์ กุลจิตต์เจือวงศ์. (2556). การพัฒนาวิทยุโทรทัศน์ไทยสู่ความเป็นมาตรฐานในระดับสากล : ศึกษาเชิงเปรียบเทียบบรรษัทกิจการการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งประเทศอังกฤษ. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 56-63.[/mfn]   การพัฒนาวิทยุโทรทัศน์ไทยสู่ความเป็นมาตรฐานในระดับสากล : ศึกษาเชิงเปรียบเทียบบรรษัทกิจการการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งประเทศอังกฤษ

ศุภศิลป์ กุลจิตต์เจือวงศ์


[mfn]ยุทธนา สุวรรณรัตน์. (2556). องค์ประกอบด้านความสนุกในรายการควิชโชว์ : ทัศนะสังเคราะห์จากผู้ผลิตและผู้ชม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 64-73.[/mfn]   องค์ประกอบด้านความสนุกในรายการควิชโชว์ : ทัศนะสังเคราะห์จากผู้ผลิตและผู้ชม

ยุทธนา สุวรรณรัตน์


[mfn]ณัชชา ศิรินธนาธร และ อมรรัตน์ ทิพย์เลิศ. (2556). ทุนชุมชน การสั่งสมทุนเพื่อการดำรงอยู่ของหอกระจายข่าวสาร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 74-93.[/mfn]   ทุนชุมชน การสั่งสมทุนเพื่อการดำรงอยู่ของหอกระจายข่าวสาร

ณัชชา ศิรินธนาธร และ อมรรัตน์ ทิพย์เลิศ


[mfn]วนิดา วินิจจะกูล. (2556). ความรับผิดชอบทางสังคมกับการแสวงหากำไรของธุรกิจ : กรณีศึกษา บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 94-100.[/mfn]   ความรับผิดชอบทางสังคมกับการแสวงหากำไรของธุรกิจ : กรณีศึกษา บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน)

วนิดา วินิจจะกูล


[mfn]ปวรรศ จันทร์เพ็ญ. (2556). กลยุทธ์ใหม่กับโฆษณาแฝงในปัจจุบัน. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 101-107.[/mfn]   กลยุทธ์ใหม่กับโฆษณาแฝงในปัจจุบัน

ปวรรศ จันทร์เพ็ญ


[mfn]เมตตา ดีเจริญ. (2556). การพัฒนารูปแบบการจัดรายการหอกระจายข่าวเพื่อสนองตอบตามความต้องการของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลลาดบัวขาว อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 108-116.[/mfn]   การพัฒนารูปแบบการจัดรายการหอกระจายข่าวเพื่อสนองตอบตามความต้องการของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลลาดบัวขาว อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา

เมตตา ดีเจริญ


[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ และ เจตน์จันทร์ เกิดสุข. (2556). ภาพฝังใจของประชาชนที่มีต่อตำรวจในเขตพื้นที่ บก.น.9. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 117-125.[/mfn]   ภาพฝังใจของประชาชนที่มีต่อตำรวจในเขตพื้นที่ บก.น.9

ศิริชัย ศิริกายะ และ เจตน์จันทร์ เกิดสุข


[mfn]อนรรฆอร บุธมัธนานนท์. (2556). การสื่อสารแบบอัตตการสื่อสารผ่านกระบวนการสร้างสรรค์ละครเวทีประเภทตลกขบขัน เรื่อง สามสาวทรามทราม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 126-138.[/mfn]   การสื่อสารแบบอัตตการสื่อสารผ่านกระบวนการสร้างสรรค์ละครเวทีประเภทตลกขบขัน เรื่อง สามสาวทรามทราม

อนรรฆอร บุธมัธนานนท์


[mfn]เจตน์จันทร์ เกิดสุข. (2556). วิจารณ์หนังสือ “10 บทความต้องอ่าน โดย Harvard Business Review) เรื่อง การสื่อสาร”. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 139-.[/mfn]   วิจารณ์หนังสือ “10 บทความต้องอ่าน โดย Harvard Business Review) เรื่อง การสื่อสาร”

เจตน์จันทร์ เกิดสุข


 

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 13 ปี 2556 Siam Communication Review Vol12 No13 2013

Quick View

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 14 ปี 2557

[mfn]รัฐพล ไชยรัตน์. (2557). ภาพอัตลักษณ์ของวัฒนธรรมข้าวไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 8-14.[/mfn]   ภาพอัตลักษณ์ของวัฒนธรรมข้าวไทย

รัฐพล ไชยรัตน์


[mfn]สุเทพ เดชะชีพ, ต่อตระกูล อุบลวัตร, ณฐมน วันวิชัย และ สิริวิมล ปัณณราช. (2557). การศึกษาเปรียบเทียบการรับรู้ ความต้องการข่าวสาร การนำเสนอเนื้อหาและความต้องการมีส่วนร่วมต่อการสร้างจิตสำนึกสาธารณะในการอนุรักษ์คลองแสนแสบกรณีศึกษาชุมชนเทพลีลา – ชุมชนวัดตึก. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 15-25.[/mfn]   การศึกษาเปรียบเทียบการรับรู้ ความต้องการข่าวสาร การนำเสนอเนื้อหาและความต้องการมีส่วนร่วมต่อการสร้างจิตสำนึกสาธารณะในการอนุรักษ์คลองแสนแสบกรณีศึกษาชุมชนเทพลีลา – ชุมชนวัดตึก

สุเทพ เดชะชีพ, ต่อตระกูล อุบลวัตร, ณฐมน วันวิชัย และ สิริวิมล ปัณณราช


[mfn]วิทูร สินศิริเชวง. (2557). พฤติกรรมการบริโภคสื่อของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 26-36.[/mfn]   พฤติกรรมการบริโภคสื่อของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วิทูร สินศิริเชวง


[mfn]พงศวีร์ สุภานนท์. (2557). การควบคุมเนื้อหาภาพยนตร์กับสาระที่เปลี่ยนไป. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 37-50.[/mfn]   การควบคุมเนื้อหาภาพยนตร์กับสาระที่เปลี่ยนไป

พงศวีร์ สุภานนท์


[mfn]มนฑิรา  ธาดาอำนวยชัย. (2557). เทศกาลภาพยนตร์และตลาดขายภาพยนตร์ บทบาทที่สำคัญต่ออุตสาหกรรมภาพยนตร์. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 51-54.[/mfn]   เทศกาลภาพยนตร์และตลาดขายภาพยนตร์ บทบาทที่สำคัญต่ออุตสาหกรรมภาพยนตร์

มนฑิรา  ธาดาอำนวยชัย


[mfn]วรวุฒิ ทัดบรรทม และ วรสิริ วัดเข้าหลาม. (2557). การศึกษากระบวนการสร้างสรรค์บทละครวิทยุของคณะกันตนา. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 55-66.[/mfn]   การศึกษากระบวนการสร้างสรรค์บทละครวิทยุของคณะกันตนา

วรวุฒิ ทัดบรรทม และ วรสิริ วัดเข้าหลาม


[mfn]นวลพรรณ เนติทวีทรัพย์ และ จุฑา ติงศภัทิย์. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข้อมูข่าวสารกับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสนามกีฬาหัวหมากที่มีต่อการกีฬาแห่งประเทศไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 67-78.[/mfn]   ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข้อมูข่าวสารกับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสนามกีฬาหัวหมากที่มีต่อการกีฬาแห่งประเทศไทย

นวลพรรณ เนติทวีทรัพย์ และ จุฑา ติงศภัทิย์


[mfn]เจตน์จันทร์ เกิดสุข. (2557). การศึกษาการใช้ศาสตร์การตัดต่อในกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ที่เลือกมาเป็นกรณีศึกษา. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 79-91.[/mfn]   การศึกษาการใช้ศาสตร์การตัดต่อในกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ที่เลือกมาเป็นกรณีศึกษา

เจตน์จันทร์ เกิดสุข


[mfn]ยุทธนา สุวรรณรัตน์. (2557). การสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับกลุ่มชายรักชาย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 92-99.[/mfn]   การสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับกลุ่มชายรักชาย

ยุทธนา สุวรรณรัตน์


[mfn]ลัทธสิทธิ์ ทวีสุข. (2557). กระบวนการออกแบบลายเส้นเพื่อสื่อสารผ่านลักษณะดีและร้ายของตัวการ์ตูน กรณีศึกษา ภาพยนตร์การ์ตูนขนาดสั้นเรื่อง Paperman. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 100-108.[/mfn]   กระบวนการออกแบบลายเส้นเพื่อสื่อสารผ่านลักษณะดีและร้ายของตัวการ์ตูน กรณีศึกษา ภาพยนตร์การ์ตูนขนาดสั้นเรื่อง Paperman

ลัทธสิทธิ์ ทวีสุข


[mfn]รัฐเขต ปรีชล. (2557). วิเคราะห์วาทกรรมจากข่าวประชาสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร (ข่าว กทม.) ที่เผยแพร่ในช่วงมีการชุมนุมปิดกรุงเทพมหานคร “Bangkok Shutdown” ของกลุ่ม กปปส.. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 109-117.[/mfn]   วิเคราะห์วาทกรรมจากข่าวประชาสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร (ข่าว กทม.) ที่เผยแพร่ในช่วงมีการชุมนุมปิดกรุงเทพมหานคร “Bangkok Shutdown” ของกลุ่ม กปปส.

รัฐเขต ปรีชล


[mfn]ปิยะศักดิ์ ชมจันทร์. (2557). วิจารณ์บทความชุด Future of Advertising ของวารสาร Harvard Business Review ฉบับเดือนมีนาคม 2556. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 118-119.[/mfn]   วิจารณ์บทความชุด Future of Advertising ของวารสาร Harvard Business Review ฉบับเดือนมีนาคม 2556

ปิยะศักดิ์ ชมจันทร์


วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 14 ปี 2557 Siam Communication Review Vol13 No14 2014

Quick View

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 19 ปี 2559

[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ. (2559). ทฤษฎีควอนตัมฟิสิกส์กับการควบรวมและการแปลงรูปองค์ประกอบการสื่อสารในยุคดิจิทัล. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 7-9.[/mfn]   ทฤษฎีควอนตัมฟิสิกส์กับการควบรวมและการแปลงรูปองค์ประกอบการสื่อสารในยุคดิจิทัล

รศ.ดร.ศิริชัย  ศิริกายะ


[mfn]กาญจนา มีศิลปะวิกกัย. (2559). Consumer Behaviour and New Media Literacy. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 10-16.[/mfn]   Consumer Behaviour and New Media Literacy

ผศ.ดร.กาญจนา มีศิลปะวิกกัย


[mfn]กาญจนา โชคเหรียญสุขชัย. (2559). พฤติกรรมการท่องเที่ยว การเปิดรับข่าวสาร และทัศนคติต่อการท่องเที่ยววัฒนธรรมไทยของชาวแอฟริกาใต้. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 17-34.[/mfn]   พฤติกรรมการท่องเที่ยว การเปิดรับข่าวสาร และทัศนคติต่อการท่องเที่ยววัฒนธรรมไทยของชาวแอฟริกาใต้

รศ.ดร.กาญจนา โชคเหรียญสุขชัย


[mfn]ธีรวันท์ โอภาสบุตร. (2559). แนวทางการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพขององค์กรพัฒนา เอกชนด้านการส่งเสริมสิทธิมนุษยชนของสตรี. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 35-40.[/mfn]   แนวทางการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพขององค์กรพัฒนา เอกชนด้านการส่งเสริมสิทธิมนุษยชนของสตรี

ธีรวันท์ โอภาสบุตร


[mfn]ดิษฐา จำปาแขก. (2559). รูปแบบและวิธีการนำเสนอเนื้อหาของสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เฟซบุ๊ก. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 41-49.[/mfn]   รูปแบบและวิธีการนำเสนอเนื้อหาของสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เฟซบุ๊ก

ดิษฐา จำปาแขก


[mfn]ระดม อร่ามวิทย์ และ มนฤดี ธาดาอำนวยชัย. (2559). ทิศทางและแนวโน้วของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 50-60.[/mfn]   ทิศทางและแนวโน้วของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย

ระดม อร่ามวิทย์ และ ดร.มนฤดี ธาดาอำนวยชัย


[mfn]พลอยพชร ฉันท์เศรษฐ์ และ จุฑา มนัสไพบูลย์. (2559). กระบวนการบริหารจัดการการผลิตรายการเรียลลิตี้กรณีศึกษา  รายการเดอะเฟสไทยแลนด์. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 61-71.[/mfn]   กระบวนการบริหารจัดการการผลิตรายการเรียลลิตี้กรณีศึกษา  รายการเดอะเฟสไทยแลนด์

พลอยพชร ฉันท์เศรษฐ์ และ รศ. ดร.จุฑา มนัสไพบูลย์


[mfn]ปรเมศวร์ รัมยากูร. (2559). การเปรียบเทียบเว็บไซต์ในไทยยุคปัจจุบันกับยุคฟองสบู่ดอทคอมแตก ปี พ.ศ. 2543. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 72-81.[/mfn]   การเปรียบเทียบเว็บไซต์ในไทยยุคปัจจุบันกับยุคฟองสบู่ดอทคอมแตก ปี พ.ศ. 2543

ปรเมศวร์ รัมยากูร


[mfn]จุฑารัตน์ การะเกต. (2559). ละครหุ่นร่วมสมัย เรื่อง “เดอะ เมจิก มิเรอร์” ละครเพื่อการเรียนรู้ของนักศึกษาการสื่อสารการแสดง. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 82-92.[/mfn]   ละครหุ่นร่วมสมัย เรื่อง “เดอะ เมจิก มิเรอร์” ละครเพื่อการเรียนรู้ของนักศึกษาการสื่อสารการแสดง

จุฑารัตน์ การะเกต


[mfn]สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์, ประกิจ อาษา และ จารุณี วรรณศิริกุล. (2559). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน: การเรียนรู้ตามสภาพจริงของนักศึกษา ภาควิชาการหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ คณะนิเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยสยาม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 93-102.[/mfn]   การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน: การเรียนรู้ตามสภาพจริงของนักศึกษา ภาควิชาการหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ คณะนิเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยสยาม

สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์, ประกิจ อาษา และ จารุณี วรรณศิริกุล


[mfn]กิตติธัช ศรีฟ้า. (2559). เพราะตัวอักษรไม่มีอารมณ์ กรณีศึกษา พัฒนาการโปรแกรมแชทบนโลกออนไลน์ . วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 103-109.[/mfn]   เพราะตัวอักษรไม่มีอารมณ์ กรณีศึกษา พัฒนาการโปรแกรมแชทบนโลกออนไลน์ 

กิตติธัช ศรีฟ้า


[mfn]เวทิต ทองจันทร์. (2559). การเพิ่มเสน่ห์ในการสร้างสรรค์งานภาพถ่ายในเล่มรายการอาหาร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 110-116.[/mfn]   การเพิ่มเสน่ห์ในการสร้างสรรค์งานภาพถ่ายในเล่มรายการอาหาร

เวทิต ทองจันทร์


[mfn]ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง. (2559). การถ่ายภาพคอนเสิร์ต “สิงห์ใหญ่ หัวใจสิงห์” จังหวัดเชียงใหม่. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 117-126.[/mfn]   การถ่ายภาพคอนเสิร์ต “สิงห์ใหญ่ หัวใจสิงห์” จังหวัดเชียงใหม่

ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง


[mfn]ณัฐพร  เพ็ชรเรือง. (2559). นาฏศิลป์กับการสื่อสารอารมณ์. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 127-131.[/mfn]   นาฏศิลป์กับการสื่อสารอารมณ์

ณัฐพร  เพ็ชรเรือง


[mfn]จุฑารัตน์ ม่วงแก้ว. (2559). อัตลักษณ์รายการข่าวของสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบก 7. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 132-140.[/mfn]   อัตลักษณ์รายการข่าวของสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบก 7 

จุฑารัตน์ ม่วงแก้ว


[mfn]ณัฐวุฒิ มีสกุล และ ธีรภัทร วรรณฤมล. (2559). การสื่อสารการตลาดของเนชั่นทีวี (การส่งเสริมการตลาด). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 141-148.[/mfn]   การสื่อสารการตลาดของเนชั่นทีวี (การส่งเสริมการตลาด)

ณัฐวุฒิ มีสกุล และ ธีรภัทร วรรณฤมล


[mfn]อนุสรณ์ สาครดี. (2559). ผลกระทบของเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีต่อกระบวนการผลิตภาพยนตร์ไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 149-156.[/mfn]   ผลกระทบของเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีต่อกระบวนการผลิตภาพยนตร์ไทย

อนุสรณ์ สาครดี


[mfn]เบญจรงค์  ถิระผลิกะ. (2559).รักแห่งสยาม : สัญญะ มายาคติ และเพศนอกกรอบในสังคมไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 157-164.[/mfn]   รักแห่งสยาม : สัญญะ มายาคติ และเพศนอกกรอบในสังคมไทย

เบญจรงค์  ถิระผลิกะ


[mfn]จารุณี วรรณศิริกุล. (2559). วิจารณ์หนังสือ  : เรื่องเล่าประวัติศาสตร์…บนเส้นทางอาหาร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 166-167.[/mfn]   วิจารณ์หนังสือ  : เรื่องเล่าประวัติศาสตร์…บนเส้นทางอาหาร

จารุณี วรรณศิริกุล


วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 19 ปี 2559 Siam Communication Review Vol15 No19 2016

Quick View

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 21 ปี 2560

[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ และ กฤษณ์ ทองเลิศ. (2560). วิลักษณ์ในงานภาพกับลายลักษณ์อักษร ที่ซึ่งจินตนาการและสุนทรียภาพอุบัติพร้อม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 7-10.[/mfn]   ทวิลักษณ์ในงานภาพกับลายลักษณ์อักษร ที่ซึ่งจินตนาการและสุนทรียภาพอุบัติพร้อม

ศิริชัย ศิริกายะ  รองศาสตราจารย์ คณบดีคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

กฤษณ์ ทองเลิศ  รองศาสตราจารย์ บัณฑิตศึกษา วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต


[mfn]กุลธิดา ธรรมวิภัชน์, พรปภัสสร ปริญชาญกล, โสพล มีเจริญ, ถกนวรรณ น้อยปุก, ศรุตา รัตนชีวกร และ ณพวิทย์ พานิชปฐม. (2560). การพัฒนาสื่อวิดีโออินโฟกราฟิกแบบมีปฏิสัมพันธ์บนเครือข่ายสังคม เรื่อง กระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทบันเทิง บริษัท โมโน บรอดคาซท์ จำกัด. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 11-20.[/mfn]    การพัฒนาสื่อวิดีโออินโฟกราฟิกแบบมีปฏิสัมพันธ์บนเครือข่ายสังคม  เรื่อง กระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทบันเทิง บริษัท โมโน บรอดคาซท์ จำกัด

กุลธิดา  ธรรมวิภัชน์, พรปภัสสร ปริญชาญกล, โสพล มีเจริญ  ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ถกนวรรณ น้อยปุก, ศรุตา รัตนชีวกร, ณพวิทย์ พานิชปฐม  นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี


[mfn]ธีรวันท์ โอภาสบุตร. (2560). การวางแผนเพื่อการประชาสัมพันธ์ กรณีศึกษา: โครงการเดิน – วิ่ง ๙ นี้ เพื่อประชา “สืบสานพระราชปณิธานของพ่อ” ของคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 21-28.[/mfn]    การวางแผนเพื่อการประชาสัมพันธ์ กรณีศึกษา: โครงการเดิน – วิ่ง ๙ นี้ เพื่อประชา “สืบสานพระราชปณิธานของพ่อ” ของคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ธีรวันท์ โอภาสบุตร  อาจารย์ประจำภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม


[mfn]มนฑิรา ธาดาอำนวยชัย . (2560). การสร้างสรรค์ภาพยนตร์สยองขวัญและการผลิตแบบควบคุมต้นทุน กรณีศึกษา Black Full moon (คืนหอนที่ค่ายลูกเสือ). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 29-41.[/mfn]    การสร้างสรรค์ภาพยนตร์สยองขวัญและการผลิตแบบควบคุมต้นทุน กรณีศึกษา Black Full moon (คืนหอนที่ค่ายลูกเสือ)

มนฑิรา  ธาดาอำนวยชัย  คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ


[mfn]นาฏยา พิลางาม . (2560). การวิเคราะห์บทบรรณาธิการหนังสือพิมพ์รายวัน สมัยพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาดำรงตำแหน่งผู้นำรัฐบาล. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 42-50.[/mfn]     การวิเคราะห์บทบรรณาธิการหนังสือพิมพ์รายวัน สมัยพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาดำรงตำแหน่งผู้นำรัฐบาล

นาฏยา พิลางาม  อาจารย์ประจำภาควิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.


[mfn]พิสิฐ ตั้งพระประเสริฐ . (2560). การวิเคราะห์การจัดกิจกรรมศิลปะกับชุมชน “ย้อนรอยพระบาทยาตรา ณ บ้านโป่ง นิทรรศการทัศนศิลป์เทิดพระเกียรติ รัชกาลที่ 9” เพื่อน้อมรำลึกพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 51-60.[/mfn]    การวิเคราะห์การจัดกิจกรรมศิลปะกับชุมชน “ย้อนรอยพระบาทยาตรา ณ บ้านโป่ง นิทรรศการทัศนศิลป์เทิดพระเกียรติ รัชกาลที่ 9” เพื่อน้อมรำลึกพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี

พิสิฐ ตั้งพระประเสริฐ  คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์


[mfn]สุริยะ ฉายะเจริญ. (2560). กระบวนการสร้างสรรค์และเผยแพร่งานจิตรกรรม กรณีศึกษาผลงานจิตรกรรมเพื่อน้อมรำลึกถึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่สร้างสรรค์และเผยแพร่ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2560. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 61-70.[/mfn]    กระบวนการสร้างสรรค์และเผยแพร่งานจิตรกรรม กรณีศึกษาผลงานจิตรกรรมเพื่อน้อมรำลึกถึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่สร้างสรรค์และเผยแพร่ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2560

สุริยะ ฉายะเจริญ  อาจารย์ประจำภาควิชาสื่อดิจิทัล คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม


[mfn]ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง. (2560). การกำกับพิธีกรเด็กในรายการ แอนิเมชั่นคลับ. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 71-78.[/mfn]    การกำกับพิธีกรเด็กในรายการ แอนิเมชั่นคลับ

ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง อาจารย์ประจำภาควิชาวิทยุ-โทรทัศน์-ภาพยนตร์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม


[mfn]จุฑารัตน์ การะเกตุ. (2560). เอกลักษณ์ในการสร้างสรรค์ละครเวทีแนวเซอร์เรียลลิสม์ของอ็องโตแน็ง อาร์โต. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 79-89.[/mfn]    เอกลักษณ์ในการสร้างสรรค์ละครเวทีแนวเซอร์เรียลลิสม์ของอ็องโตแน็ง อาร์โต

จุฑารัตน์ การะเกตุ  อาจารย์ประจำภาควิชาการสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม


[mfn]วณิชชา ภราดรสุธรรม. (2560). กระบวนการสร้างสรรค์ลีลาท่าทางการแสดงชุด Meta Selfie ออกฉุยฉาย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 90-96.[/mfn]    กระบวนการสร้างสรรค์ลีลาท่าทางการแสดงชุด Meta Selfie ออกฉุยฉาย

วณิชชา ภราดรสุธรรม  อาจารย์ประจำภาควิชาการสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม


[mfn]เอกสิทธิ์ อวยชัยวัฒน์, ปวรรศ จันทร์เพ็ญ และ ฐานทัศน์ ชมภูพล. (2560). กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดของแอปพลิเคชั่น จู๊ค มิวสิค ไทยแลนด์. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 97-105.[/mfn]    กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดของแอปพลิเคชั่น จู๊ค มิวสิค ไทยแลนด์

เอกสิทธิ์ อวยชัยวัฒน์, ปวรรศ จันทร์เพ็ญ, ฐานทัศน์ ชมภูพล  อาจารย์ประจำภาควิชาการโฆษณา คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม


[mfn]ชญานุช วีรสาร. (2560). แนวโน้มของการผลิตภาพยนตร์โดยใช้วิธีการถ่ายทำวีดิทัศน์แนวตั้ง. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 106-116.[/mfn]    แนวโน้มของการผลิตภาพยนตร์โดยใช้วิธีการถ่ายทำวีดิทัศน์แนวตั้ง

ชญานุช  วีรสาร  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำภาควิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


[mfn]ยุทธนา สุวรรณรัตน์. (2560). การข้ามผ่านทางการสื่อสารของบทพระราชนิพนธ์เรื่องไกลบ้าน. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 117-124.[/mfn]    การข้ามผ่านทางการสื่อสารของบทพระราชนิพนธ์เรื่องไกลบ้าน

ยุทธนา สุวรรณรัตน์  นักศึกษาปริญาโท คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม


[mfn]กัญฉกาจ ตระการบุญชัย. (2560). การเปรียบเทียบการบริหารงานการผลิตรายการทีวีดิจิทัลผ่านยูทูบ ช่องรับทราบโปรดักชั่น กับช่องเฟ็ดเฟ่บอยแบนด์. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 125-134.[/mfn]    การเปรียบเทียบการบริหารงานการผลิตรายการทีวีดิจิทัลผ่านยูทูบ ช่องรับทราบโปรดักชั่น กับช่องเฟ็ดเฟ่บอยแบนด์

กัญฉกาจ ตระการบุญชัย  นักศึกษาปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์ สาขาสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


[mfn]วลัยลักษณ์ สมจินดา. (2560). บทบาทสื่อมวลชนของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นสยามนิวส์ (จันทบุรี) และการรับรู้ของผู้รับสาร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 135-146.[/mfn]    บทบาทสื่อมวลชนของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นสยามนิวส์ (จันทบุรี) และการรับรู้ของผู้รับสาร

วลัยลักษณ์ สมจินดา  นักศึกษาปริญญาโท นิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์


[mfn]ไกรลาศ ลือชัย. (2560). บทบาทในการสื่อสารของผู้นำชุมชนต่อการสร้างคลังความรู้เศรษฐกิจพอเพียงใน อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 147-156.[/mfn]    บทบาทในการสื่อสารของผู้นำชุมชนต่อการสร้างคลังความรู้เศรษฐกิจพอเพียงใน อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย

ไกรลาศ ลือชัย  นักศึกษาหลักสูตรรัฐประสาสนศาสตรมหาบัณฑิต  มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์


[mfn]สุภาพร นิภานนท์. (2560). กลยุทธ์การสื่อสารและการบริหารประเด็นเพื่อผลักดันนโยบายระบบสุขภาพมาตรฐานเดียว. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 157-170.[/mfn]    กลยุทธ์การสื่อสารและการบริหารประเด็นเพื่อผลักดันนโยบายระบบสุขภาพมาตรฐานเดียว

สุภาพร นิภานนท์  นักศึกษาปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์ สาขาสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ และ สมเกียรติ ศรีเพชร. (2560). การใช้รหัสของสติ๊กเกอร์ไลน์ในการสื่อสาร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 171-183.[/mfn]    การใช้รหัสของสติ๊กเกอร์ไลน์ในการสื่อสาร

ศิริชัย ศิริกายะ  รองศาสตราจารย์ คณบดีคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

สมเกียรติ ศรีเพชร  นักศึกษาปริญาโท คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม


[mfn]ศศิพรรณ บิลมาโนชญ์. (2560). บทวิจารณ์หนังสือ. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 16(21), 184-185.[/mfn]    บทวิจารณ์หนังสือ

ศศิพรรณ บิลมาโนชญ์  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะนิเทศศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต


วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 21 ปี 2560 Siam Communication Review Vol16 No21 2017

Quick View

วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 17 ฉบับที่ 23 ปี 2561

Title: วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 17 ฉบับที่ 23 ปี 2561 Siam Communication Review Vol.17 No.23 2018

ISSN: 1513-2226


[dflip id="7266"][/dflip]

Article Text

Editorial Article

ศิริชัย ศิริกายะ 1-6


Punctuation in Television Soap Opera “Love Destiny”

Jatechan Kirdsuk 7-9


กระบวนการสร้างสรรค์งานภาพถ่ายนกขนาดเล็ก: The Creative Production Process of Small Bird Photographies

ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง 10-15


ภัยคุกคามที่มาจากภาพฝังใจของชาวต่างชาติที่มีต่อนักศึกษามหาวิทยาลัยสยาม พ.ศ. 2560 – 2561: The Foreigners’ Stereotype Threat towards the Siam University Students B.E. 2560 – 2561

ศิริชัย ศิริกายะ, สมเกียรติ ศรีเพ็ชร, เจตน์จันทร์ เกิดสุข 16-21


การรับชมละครซิทคอมของประชาชนในเขตจังหวัดสกลนคร: Watching the Sitcoms of People in Sakon Nakhon

จิรภัทร เริ่มศรี 22-27


การพัฒนาละครวิทยุกระจายเสียงเพื่อผู้พิการทางสายตา โดยใช้เทคนิคผลิตเสียงประกอบและการปรับแต่งเสียง: Development of Drama Radio Program for the Blind by Using Technique Production of Sound Effect and Sound Adjustment

กุลกนิษฐ์ ทองเงา 28-33


บทบาทหน้าที่ของสื่อออนไลน์กับการรายงานข่าวความรุนแรงต่อเด็ก: A Role of Online Media in Reporting News of Violence against Children

สุรีวัลย์ บุตรชานนท์ 34-46


“การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดนนทบุรี”: Integrated Marketing Communications (IMC) Affecting to Decision Making in Higher Education Institutions of Mathayomsuksa 6 Students Nonthaburi

นันธิการ์ จิตรีงาม 47-58


‘จอยลดา’ แอปพลิเคชันนิยายแชตออนไลน์ โฉมหน้าใหม่ของวรรณกรรมไทย: ‘JOYLADA’: New Application Software of Online Chat Fiction for Thai Literature

ชญาณี ฉลาดธัญญกิจ 59-65


การเปิดรับและความเข้าใจสื่อประชาสัมพันธ์ของกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช ที่มีต่อประชาชนด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ: Exposure and Understanding of Public Relations Materials of the Department of National Park Wildlife and Plant Conservation to the People on Ecotourism

ธรรมรัตน์ ธัญธเนส, กาญจนา มีศิลปวิกกัย 66-72


เทคนิคในการกำกับภาพยนตร์สั้นของนักศึกษาโครงงานภาพยนตร์ ปีการศึกษา 2560: กรณีศึกษาภาพยนตร์สั้นเรื่องเข็ดแล้วคราวนี้: Short Film’s Directing Technics of Student Film Project 2017: Case Study No More Bet

มนต์ศักดิ์ เกษศิรินทร์เทพ, สมคเน วรวิวัฒน์ 73-81


เมื่อเทคโนโลยีเปลี่ยน…การสื่อสารก็เปลี่ยนตามพัฒนาการการสื่อสารด้วยตัวอักษร จากกระดาษสู่โลกออนไลน์: When Technology Changes…Communication has also Changed, Develop Communication with Letters from Paper to Online

กิตติธัช ศรีฟ้า 82-90


รูปแบบการพัฒนาครูโดยการผลิตสื่อบนโทรศัพท์มือถือและการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ส่งเสริมศักยภาพในการสอน: Media Production on Mobile and Using Online Social Networks to Support Teaching Potential

ประกิจ อาษา, สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์ 91-100


กระบวนการสร้างสรรค์ลีลาท่าทางในมิวสิกวิดีโอเพลง “ปีศาจ” ของ ณัฐวุฒิ (แม็กซ์) เจนมานะ: The Choreographic Process of the Music Video “Demons” by Nattawut (Max) Jenmana

ชโลธร จันทะวงศ์ 101-108


ประสิทธิผลการสื่อสารของสื่อเฟซบุ๊กแฟนเพจการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช ในมุมมองของสมาชิกแฟนเพจ: Communication Effectiveness of Facebook Fanpage Tourism Authority of Thailand, Nakhon Si Thammarat by Members’ Viewpoint

สิรินารถ แก้วเพ็ง, กาญจนา มีศิลปวิกกัย 109-115


พฤติกรรมและความพึงพอใจที่มีต่อการใช้งานแอปพลิเคชันจูคมิวสิคไทยแลนด์ ของนักศึกษาคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปี 256: The Behaviors and Satisfactions of Joox Music Thailand of Student Communication Arts, Siam University in B.E 2561 1

เอกสิทธิ์ อวยชัยวัฒน์, ปวรรศ จันทร์เพ็ญ, ฐานทัศน์ ชมภูพล 116-120


อิทธิพลของสื่อต่อการเตรียมพร้อมเพื่อคุณภาพชีวิต: The Influence of Media on Preparation for Quality of Life

เสาวนีย์ ภัทร์ประเสริฐ, อังธิดา ลิมป์ปัทมปาณี, บุหงา ชัยสุวรรณ 121-127


การสร้างสรรค์รายการโอ้ เบบี้! (Oh Baby!) ทางไลน์ทีวี: Creation of the “Oh Baby!” Program on Line TV

รักษิณา ปิยะเจริญทรัพย์, ณัฐฐ์วัฒน์ สุทธิโยธิน, สันทัด ทองรินทร์ 128-136


Behaviors and Acceptance of Social Media for Organizational Communication by Personnel at Mahidol University

สโรชา เสรีนนท์ชัย, ศุภนิต อารีหทัยรัตน์, ศศิพรรณ บิลมาโนชญ์ 137-147


Advice for authors

ศิริชัย ศิริกายะ 151-155


Book Review

วิจารณ์หนังสือ “การสื่อสารความเสี่ยง” ของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมิทธิ์ บุญชุติมา และ เกริดา โครตชารี

148-150


Quick View