ภาพลักษณ์ตลาดน้ำในสายตาของเยาวชนไทย (2556)
ภาพลักษณ์ตลาดน้ำในสายตาของเยาวชนไทย
ผศ.ดร. ชลลดา มงคลวนิช
บทคัดย่อ:
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงภาพลักษณ์ตลาดน้ำในสายตาของเยาวชนไทยและเปรียบเทียบความคิดเห็นของแหล่งท่องเที่ยวประเภทตลาดน้ำของไทย โดยศึกษาถึงลักษณะทางด้านประชากรศาสตร์ของเยาวชนไทย พฤติกรรม และภาพลักษณ์ตลาดน้ำในสายตาของเยาวชนไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักท่องเที่ยวที่เป็นเยาวชนที่เคยเดินทางไปท่องเที่ยวตลาดน้ำในประเทศไทย จำนวน 442 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติการแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean: ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation: S.D.) สถิติt-test กรณีเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย 2 กลุ่ม และใช้สถิติF-test วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA) กรณีเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยมากกว่า 2 กลุ่ม
ผลการศึกษา พบว่า นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีอายุเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 17-18 ปีมีระดับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมากที่สุด โดยรวมมีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์ตลาดน้ำอยู่ในระดับมาก นักท่องเที่ยวมีความคิดเห็นว่าลักษณะของตลาดน้ำน่าจะแสดงถึงวิถีชีวิตในท้องถิ่น มีสินค้าประเภทขนมหวานหรือขนมไทย ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ของที่ระลึกสำหรับซื้อฝาก และต้องการให้มีการเปิดบริการทุกวัน ความชื่นชอบลักษณะของตลาดน้ำด้านการเดินทาง ด้านสถานที่ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก และด้านการบริการ อยู่ในระดับมากในทุกด้าน
ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ตลาดน้ำ พบว่า นักท่องเที่ยวที่มีเพศต่างกันมีความคิดเห็น เกี่ยวกับตลาดน้ำในด้านการเดินทาง ด้านสถานที่ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก และด้านการบริการไม่แตกต่างกัน และจำนวนครั้งที่นักท่องเที่ยวเคยไปเที่ยวตลาดน้ำแตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ตลาดน้ำในด้านการเดินทาง ด้านสถานที่ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก และด้านการบริการ ไม่แตกต่างกัน ผลการเปรียบเทียบ ความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ตลาดน้ำที่นักท่องเที่ยวชื่นชอบรายคู่กับจำนวนครั้งที่เคยไปเที่ยวตลาดน้ำในเรื่อง เกี่ยวกับการบริการด้านการมีมัคคุเทศก์ท้องถิ่น พบว่า นักท่องเที่ยวที่เคยไปเที่ยวตลาดน้ำ 1 ครั้ง กับเคยไปเที่ยวตลาดน้ำมากกว่า 3 ครั้ง มีความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ตลาดน้ำในด้านการบริการที่มีมัคคุเทศก์ท้องถิ่นไว้บริการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ 0.05
คำสำคัญ : ภาพลักษณ์ตลาดน้ำ เยาวชน
รูปแบบการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อบรรเทาปวดของชุมชนกึ่งเมือง: กรณีศึกษาการนวดประคบด้วยใบพลับพลึง (2562)
Researcher : Wipanun Muangsakul, Suleemas Angsukiattitavorn, Lecturer, Preeyatida Chonlasuksanee, Lecturer
E-mail : Corresponding author: wipanun.mua@siam.edu
Bibliography : วิภานันท์ ม่วงสกุล, สุลีมาศ อังศุเกียรติถาวร, ปรียธิดา ชลศึกเสนีย์ และ บัวทิพย์ เพ็งศรี. (2562). รูปแบบการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อบรรเทาปวดของชุมชนกึ่งเมือง: กรณีศึกษาการนวดประคบด้วยใบพลับพลึง. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 20(38), 37-52.
วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่ 20 ฉบับที่ 38 ม.ค.-มิ.ย. 2562
Journal of Nursing, Siam University Vol. 20 No. 38 Jan-Jun 2019
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 10 ปี 2553
กฤษณ์ ทองเลิศ
2. การกำกับความหมายของแผนที่ท่องเที่ยวทางอินเทอร์เน็ต
อารีรัตน์ แพทย์นุเคราะห์
3. การสื่อความหมายด้วยท่าเต้นประกอบเพลงจากรายการโทรทัศน์
ธิดา วารีแสงทิพย์
4. การสร้างภาพตัวแทนด้วยการแต่งหน้าเพื่อสื่อความหมายลักษณะตัวละครของละครโทรทัศน์ไทย
กฤษณ์ คำนนท์
กุลธิดา ธรรมวิภัชน์, เสกสรรค์ แย้มพินิจ และ นิลุบล แหยมอุบล
6. การรับรู้ภาพลักษณ์มหาวิทยาลัยสยามของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในพื้นที่ฝั่งธนบุรี
ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง
7. หน้าที่ของสื่อบนเที่ยวบินระยะไกลของบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน)
ทยา จันทนชาติ
8. การแบ่งเขตพื้นที่ให้บริการกิจการที่ไม่ใช้คลื่นความถี่กิจการโทรทัศน์ที่มีการบอกรับสมาชิก (เคเบิลทีวี)
ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ, เพ็ญพักตร์ เตียวสมบูรณ์กิจ และ จารุพร เลิศพิสัณห์
9. วิจารณ์หนังสืออรรถรสที่สิ้นสูญ : The Lost Symbol
กุลชาติ ศรีโพธิ์
10. วิจารณ์บทความการสื่อความหมายของงานภาพจิตรกรรมฝาผนังไทย
ศรีสกุล ธรรมสุรัติ
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 10 ปี 2553 Siam Communication Review Vol10 No10 2010
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 11 ปี 2553
กฤษณ์ ทองเลิศ
2. The Odyssey of Elephant: Contemporary Images and Representation
รัฐพล ไชยรัตน์
3. การสื่อความหมายเชิงสัญญะของการสื่อสารเชิงกราฟิกในรายการข่าวโทรทัศน์ไทย
ชินกฤต อุดมลาภไพศาล
4. การสื่อสารเชิงกราฟิกในรายการถ่ายทอดสดการแข่งขันกีฬาทางสื่อโทรทัศน์
กฤษกร ไสยกิจ
กฤษณีกร เจริญกุศล
กุลธิดา ธรรมวิภัชน์ และ จิตติพร วรรธนะพิศิษฎ์
7. การใช้สื่ออินเตอร์เน็ตกับทุนทางสังคมของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
นรินทร์ นำเจริญ, วาลี ขันธุวา, นาฏยา พิลางาม และ องอาจ สิงห์ลำพอง
กุลธิดา ธรรมวิภัชน์ และ สุภาษิต นวลเศษ
ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์
10. แนวโน้มการประชาสัมพันธ์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ.2554-2563)
จารุพร เลิศพิสัณห์, สุภาพร ศรีสัตตรัตน์, กัลยกร นรภัทรทวีพร และ พลอยชนก แสนอาทิตย์
11. การบริหารกองถ่ายทำภาพยนตร์ไทย กรณีศึกษาผู้กำกับภาพยนตร์ที่เป็นศิลปินตลก
สมคเน วรวิวัฒน์
12. วิจารณ์หนังสือ ”หลักการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ รองศาสตราจารย์ วิมลพรรณ อาภาเวท”
กัลยกร นรภัทรทวีพร
13. วิจารณ์หนังสือ”ศาสตร์การเขียน : ดร.สุทิติ ขัตติยะ”
สุปรียา กลิ่นสุวรรณ
14. วิจารณ์หนังสือ “การเขียนสร้างสรรค์เชิงวารสารศาสตร์ : ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ปราณี สุรสิทธิ์”
ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์
15. วิจารณ์ “หนังสือการเขียนสารคดีภาคปฏิบัติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธัญญา สังขพันธานนท์”
สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 11 ปี 2553 Siam Communication Review Vol10 No11 2010
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 12 ปี 2555
[mfn]ปิยะศักดิ์ ชมจันทร์. (2555). ประเด็นปัญหาจากการเปลี่ยนผ่านสู่โทรทัศน์ระบบดิจิทัลของประเทศไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 6-12.[/mfn] ประเด็นปัญหาจากการเปลี่ยนผ่านสู่โทรทัศน์ระบบดิจิทัลของประเทศไทย
ปิยะศักดิ์ ชมจันทร์
[mfn]เกศินี บัวดิศ. (2555). โครงสร้างการบริหารการจัดการสื่อสมัยใหม่. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 13-18.[/mfn] โครงสร้างการบริหารการจัดการสื่อสมัยใหม่
เกศินี บัวดิศ
[mfn]ภัสรา พงษ์สุขเวชกุล. (2555). เทคโนโลยีสื่อใหม่กับการสื่อสารในครอบครัวในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 19-35.[/mfn] เทคโนโลยีสื่อใหม่กับการสื่อสารในครอบครัวในเขตกรุงเทพมหานคร
ภัสรา พงษ์สุขเวชกุล
[mfn]ฐานทัศน์ ชมภูพล. (2555). การเปิดรับข่าวสาร ความคิดเห็น และการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางของผู้บริโภคผ่านสื่อออนไลน์. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 36-59.[/mfn] การเปิดรับข่าวสาร ความคิดเห็น และการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางของผู้บริโภคผ่านสื่อออนไลน์
ฐานทัศน์ ชมภูพล
[mfn]ธีรวันท์ โอภาสบุตร. (2555). ชื่อเสียงองค์กรมีได้เพียงหนึ่งเดียว หรือมีได้มากกว่าหนึ่งชื่อเสียง. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 60-85.[/mfn] ชื่อเสียงองค์กรมีได้เพียงหนึ่งเดียว หรือมีได้มากกว่าหนึ่งชื่อเสียง
ธีรวันท์ โอภาสบุตร
[mfn]เกศินี บัวดิศ. (2555). ภาพลักษณ์กับทิศทางเพื่อการประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 86-94.[/mfn] ภาพลักษณ์กับทิศทางเพื่อการประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย
เกศินี บัวดิศ
[mfn]สุนทรี อาภานุกูล และ จุฑา ติงศภัทิย์. (2555). การศึกษากลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ของการแข่งขันเทนนิส พีทีที ไทยแลนด์ โอเพ่น 2553. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 95-106.[/mfn] การศึกษากลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ของการแข่งขันเทนนิส พีทีที ไทยแลนด์ โอเพ่น 2553
สุนทรี อาภานุกูล และ จุฑา ติงศภัทิย์
[mfn]เอกสิทธิ์ อวยชัยวัฒน์. (2555). กลยุทธ์การโฆษณาหาเสียงเลือกตั้งของพรรคการเมืองไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 107-121.[/mfn] กลยุทธ์การโฆษณาหาเสียงเลือกตั้งของพรรคการเมืองไทย
เอกสิทธิ์ อวยชัยวัฒน์
[mfn]ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง และ ธนัช นนท์ขุนทด. (2555). การสื่อสารมวลชนของกัมพูชา และเวียดนาม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 122-127.[/mfn] การสื่อสารมวลชนของกัมพูชา และเวียดนาม
ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง และ ธนัช นนท์ขุนทด
[mfn]สุริยะ ฉายะเจริญ. (2555). สัญลักษณ์ของธงชาติไทยในศิลปะร่วมสมัย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 128-149.[/mfn] สัญลักษณ์ของธงชาติไทยในศิลปะร่วมสมัย
สุริยะ ฉายะเจริญ
[mfn]กิตติธัช ศรีฟ้า. (2555). สัญลักษณ์อุณาโลมการสื่อความความหมายของสัญลักษณ์จากอดีตสู่ปัจจุบัน. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 150-158.[/mfn] สัญลักษณ์อุณาโลมการสื่อความความหมายของสัญลักษณ์จากอดีตสู่ปัจจุบัน
กิตติธัช ศรีฟ้า
[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ, ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง, สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์ และ ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์. (2555). การใช้สื่อออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2553. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 159-164.[/mfn] การใช้สื่อออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2553
ศิริชัย ศิริกายะ, ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง, สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์ และ ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์
[mfn]สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์. (2555). บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคเหนือ). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 165-168.[/mfn] บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคเหนือ)
สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์
[mfn]สุปรียา กลิ่นสุวรรณ. (2555). บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคใต้). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 169-170.[/mfn] บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคใต้)
สุปรียา กลิ่นสุวรรณ
[mfn]ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์. (2555). บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (กรุงเทพมหานคร). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 171-173.[/mfn] บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (กรุงเทพมหานคร)
ทิพย์อนงค์ ตรรกวุฒิวงศ์
[mfn]กัลยกร นรภัทรทวีพร. (2555). บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคกลาง). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 11(12), 174-175.[/mfn] บทวิจารณ์หนังสือเจาะข่าวสารคดีเชิงสืบสวน (ภาคกลาง)
กัลยกร นรภัทรทวีพร
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 12 ปี 2555 Siam Communication Review Vol11 No12 2012
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 13 ปี 2556
[mfn]เวทิต ทองจันทร์. (2556). ปรสิตทางการสื่อสารและการแปลความหมายภาพถ่ายในยุคนวนิยมกับการสร้างสรรค์ภาพถ่ายดิจิทัลบนหน้าปก Facebook.com. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 8-16.[/mfn] ปรสิตทางการสื่อสารและการแปลความหมายภาพถ่ายในยุคนวนิยมกับการสร้างสรรค์ภาพถ่ายดิจิทัลบนหน้าปก Facebook.com
เวทิต ทองจันทร์
[mfn]สุเทพ เดชะชีพ และ จักรีรัตน์ แสงวารี. (2556). การประชาสัมพันธ์บนสื่อสังคมออนไลน์ในยุคเว็บ 3.0. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 17-26.[/mfn] การประชาสัมพันธ์บนสื่อสังคมออนไลน์ในยุคเว็บ 3.0
สุเทพ เดชะชีพ และ จักรีรัตน์ แสงวารี
[mfn]อิทธิพล ประเสริฐสังข์์. (2556). การสื่อสารการตลาดบนเฟสบุ๊คของอุปกรณ์สื่อสารแบบพกพาของแอปเปิ้ลและซัมซุง. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 27-36.[/mfn] การสื่อสารการตลาดบนเฟสบุ๊คของอุปกรณ์สื่อสารแบบพกพาของแอปเปิ้ลและซัมซุง
อิทธิพล ประเสริฐสังข์์
[mfn]สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์. (2556). ช่องทางการเรียนการสอนบนสื่อสังคมออนไลน์ของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 37-42.[/mfn] ช่องทางการเรียนการสอนบนสื่อสังคมออนไลน์ของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์
[mfn]สุริยะ ฉายะเจริญ (2556). ผลงานดิจิทัลอาร์ตจากงานวิจัยกรณีศึกษาผลงานสร้างสรรค์จากการสันนิษฐานรูปลักษณ์โบราณสถาน. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 43-47.[/mfn] ผลงานดิจิทัลอาร์ตจากงานวิจัยกรณีศึกษาผลงานสร้างสรรค์จากการสันนิษฐานรูปลักษณ์โบราณสถาน
สุริยะ ฉายะเจริญ
[mfn]ศศิพรรณ บิลมาโนช. (2556). การใช้วิธีการสื่อสารชุมชนในการพัฒนาชุมชนเชียงแสนเป็นเมืองมรดกโลก. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 48-55.[/mfn] การใช้วิธีการสื่อสารชุมชนในการพัฒนาชุมชนเชียงแสนเป็นเมืองมรดกโลก
ศศิพรรณ บิลมาโนช
[mfn]ศุภศิลป์ กุลจิตต์เจือวงศ์. (2556). การพัฒนาวิทยุโทรทัศน์ไทยสู่ความเป็นมาตรฐานในระดับสากล : ศึกษาเชิงเปรียบเทียบบรรษัทกิจการการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งประเทศอังกฤษ. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 56-63.[/mfn] การพัฒนาวิทยุโทรทัศน์ไทยสู่ความเป็นมาตรฐานในระดับสากล : ศึกษาเชิงเปรียบเทียบบรรษัทกิจการการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งประเทศอังกฤษ
ศุภศิลป์ กุลจิตต์เจือวงศ์
[mfn]ยุทธนา สุวรรณรัตน์. (2556). องค์ประกอบด้านความสนุกในรายการควิชโชว์ : ทัศนะสังเคราะห์จากผู้ผลิตและผู้ชม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 64-73.[/mfn] องค์ประกอบด้านความสนุกในรายการควิชโชว์ : ทัศนะสังเคราะห์จากผู้ผลิตและผู้ชม
ยุทธนา สุวรรณรัตน์
[mfn]ณัชชา ศิรินธนาธร และ อมรรัตน์ ทิพย์เลิศ. (2556). ทุนชุมชน การสั่งสมทุนเพื่อการดำรงอยู่ของหอกระจายข่าวสาร. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 74-93.[/mfn] ทุนชุมชน การสั่งสมทุนเพื่อการดำรงอยู่ของหอกระจายข่าวสาร
ณัชชา ศิรินธนาธร และ อมรรัตน์ ทิพย์เลิศ
[mfn]วนิดา วินิจจะกูล. (2556). ความรับผิดชอบทางสังคมกับการแสวงหากำไรของธุรกิจ : กรณีศึกษา บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน). วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 94-100.[/mfn] ความรับผิดชอบทางสังคมกับการแสวงหากำไรของธุรกิจ : กรณีศึกษา บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน)
วนิดา วินิจจะกูล
[mfn]ปวรรศ จันทร์เพ็ญ. (2556). กลยุทธ์ใหม่กับโฆษณาแฝงในปัจจุบัน. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 101-107.[/mfn] กลยุทธ์ใหม่กับโฆษณาแฝงในปัจจุบัน
ปวรรศ จันทร์เพ็ญ
[mfn]เมตตา ดีเจริญ. (2556). การพัฒนารูปแบบการจัดรายการหอกระจายข่าวเพื่อสนองตอบตามความต้องการของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลลาดบัวขาว อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 108-116.[/mfn] การพัฒนารูปแบบการจัดรายการหอกระจายข่าวเพื่อสนองตอบตามความต้องการของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลลาดบัวขาว อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา
เมตตา ดีเจริญ
[mfn]ศิริชัย ศิริกายะ และ เจตน์จันทร์ เกิดสุข. (2556). ภาพฝังใจของประชาชนที่มีต่อตำรวจในเขตพื้นที่ บก.น.9. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 117-125.[/mfn] ภาพฝังใจของประชาชนที่มีต่อตำรวจในเขตพื้นที่ บก.น.9
ศิริชัย ศิริกายะ และ เจตน์จันทร์ เกิดสุข
[mfn]อนรรฆอร บุธมัธนานนท์. (2556). การสื่อสารแบบอัตตการสื่อสารผ่านกระบวนการสร้างสรรค์ละครเวทีประเภทตลกขบขัน เรื่อง สามสาวทรามทราม. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 126-138.[/mfn] การสื่อสารแบบอัตตการสื่อสารผ่านกระบวนการสร้างสรรค์ละครเวทีประเภทตลกขบขัน เรื่อง สามสาวทรามทราม
อนรรฆอร บุธมัธนานนท์
[mfn]เจตน์จันทร์ เกิดสุข. (2556). วิจารณ์หนังสือ “10 บทความต้องอ่าน โดย Harvard Business Review) เรื่อง การสื่อสาร”. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 139-.[/mfn] วิจารณ์หนังสือ “10 บทความต้องอ่าน โดย Harvard Business Review) เรื่อง การสื่อสาร”
เจตน์จันทร์ เกิดสุข
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 13 ปี 2556 Siam Communication Review Vol12 No13 2013
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 14 ปี 2557
[mfn]รัฐพล ไชยรัตน์. (2557). ภาพอัตลักษณ์ของวัฒนธรรมข้าวไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 8-14.[/mfn] ภาพอัตลักษณ์ของวัฒนธรรมข้าวไทย
รัฐพล ไชยรัตน์
[mfn]สุเทพ เดชะชีพ, ต่อตระกูล อุบลวัตร, ณฐมน วันวิชัย และ สิริวิมล ปัณณราช. (2557). การศึกษาเปรียบเทียบการรับรู้ ความต้องการข่าวสาร การนำเสนอเนื้อหาและความต้องการมีส่วนร่วมต่อการสร้างจิตสำนึกสาธารณะในการอนุรักษ์คลองแสนแสบกรณีศึกษาชุมชนเทพลีลา – ชุมชนวัดตึก. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 15-25.[/mfn] การศึกษาเปรียบเทียบการรับรู้ ความต้องการข่าวสาร การนำเสนอเนื้อหาและความต้องการมีส่วนร่วมต่อการสร้างจิตสำนึกสาธารณะในการอนุรักษ์คลองแสนแสบกรณีศึกษาชุมชนเทพลีลา – ชุมชนวัดตึก
สุเทพ เดชะชีพ, ต่อตระกูล อุบลวัตร, ณฐมน วันวิชัย และ สิริวิมล ปัณณราช
[mfn]วิทูร สินศิริเชวง. (2557). พฤติกรรมการบริโภคสื่อของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 26-36.[/mfn] พฤติกรรมการบริโภคสื่อของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิทูร สินศิริเชวง
[mfn]พงศวีร์ สุภานนท์. (2557). การควบคุมเนื้อหาภาพยนตร์กับสาระที่เปลี่ยนไป. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 37-50.[/mfn] การควบคุมเนื้อหาภาพยนตร์กับสาระที่เปลี่ยนไป
พงศวีร์ สุภานนท์
[mfn]มนฑิรา ธาดาอำนวยชัย. (2557). เทศกาลภาพยนตร์และตลาดขายภาพยนตร์ บทบาทที่สำคัญต่ออุตสาหกรรมภาพยนตร์. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 51-54.[/mfn] เทศกาลภาพยนตร์และตลาดขายภาพยนตร์ บทบาทที่สำคัญต่ออุตสาหกรรมภาพยนตร์
มนฑิรา ธาดาอำนวยชัย
[mfn]วรวุฒิ ทัดบรรทม และ วรสิริ วัดเข้าหลาม. (2557). การศึกษากระบวนการสร้างสรรค์บทละครวิทยุของคณะกันตนา. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 55-66.[/mfn] การศึกษากระบวนการสร้างสรรค์บทละครวิทยุของคณะกันตนา
วรวุฒิ ทัดบรรทม และ วรสิริ วัดเข้าหลาม
[mfn]นวลพรรณ เนติทวีทรัพย์ และ จุฑา ติงศภัทิย์. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข้อมูข่าวสารกับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสนามกีฬาหัวหมากที่มีต่อการกีฬาแห่งประเทศไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 67-78.[/mfn] ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข้อมูข่าวสารกับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสนามกีฬาหัวหมากที่มีต่อการกีฬาแห่งประเทศไทย
นวลพรรณ เนติทวีทรัพย์ และ จุฑา ติงศภัทิย์
[mfn]เจตน์จันทร์ เกิดสุข. (2557). การศึกษาการใช้ศาสตร์การตัดต่อในกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ที่เลือกมาเป็นกรณีศึกษา. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 79-91.[/mfn] การศึกษาการใช้ศาสตร์การตัดต่อในกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ที่เลือกมาเป็นกรณีศึกษา
เจตน์จันทร์ เกิดสุข
[mfn]ยุทธนา สุวรรณรัตน์. (2557). การสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับกลุ่มชายรักชาย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 92-99.[/mfn] การสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับกลุ่มชายรักชาย
ยุทธนา สุวรรณรัตน์
[mfn]ลัทธสิทธิ์ ทวีสุข. (2557). กระบวนการออกแบบลายเส้นเพื่อสื่อสารผ่านลักษณะดีและร้ายของตัวการ์ตูน กรณีศึกษา ภาพยนตร์การ์ตูนขนาดสั้นเรื่อง Paperman. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 100-108.[/mfn] กระบวนการออกแบบลายเส้นเพื่อสื่อสารผ่านลักษณะดีและร้ายของตัวการ์ตูน กรณีศึกษา ภาพยนตร์การ์ตูนขนาดสั้นเรื่อง Paperman
ลัทธสิทธิ์ ทวีสุข
[mfn]รัฐเขต ปรีชล. (2557). วิเคราะห์วาทกรรมจากข่าวประชาสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร (ข่าว กทม.) ที่เผยแพร่ในช่วงมีการชุมนุมปิดกรุงเทพมหานคร “Bangkok Shutdown” ของกลุ่ม กปปส.. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 109-117.[/mfn] วิเคราะห์วาทกรรมจากข่าวประชาสัมพันธ์ของกรุงเทพมหานคร (ข่าว กทม.) ที่เผยแพร่ในช่วงมีการชุมนุมปิดกรุงเทพมหานคร “Bangkok Shutdown” ของกลุ่ม กปปส.
รัฐเขต ปรีชล
[mfn]ปิยะศักดิ์ ชมจันทร์. (2557). วิจารณ์บทความชุด Future of Advertising ของวารสาร Harvard Business Review ฉบับเดือนมีนาคม 2556. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 13(14), 118-119.[/mfn] วิจารณ์บทความชุด Future of Advertising ของวารสาร Harvard Business Review ฉบับเดือนมีนาคม 2556
ปิยะศักดิ์ ชมจันทร์
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 14 ปี 2557 Siam Communication Review Vol13 No14 2014
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 15 ปี 2557
1. แบบจำลองการสื่อสารในยุคดิจิทัล
ศิริชัย ศิริกายะ
2. The Symbolic Appearance of Mara in Thai Temple Murals
กฤษณ์ ทองเลิศ
3 . เรื่องนักสืบในสื่อยอดนิยม
ฉลองรัฐ เฌอมาลย์ชลมารค
4 . พฤติกรรมการใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจในการสื่อสารเพื่อสร้างความหมายในแอพพลิเคชั่นไลน์
อวยพร พานิช
ทัศนีย์ ดำเกิงศักดิ์
5 . การโน้มน้าวใจการตลาดเชิงเนื้อหา
ภานนท์ คุ้มสุภา
6 . เทคนิคการถ่ายภาพรถยนตร์ขณะเคลื่อนที่
อิทธิพล โพธิพันธ์
7 . ปัจจัยที่มีผลต่อการเปิดรับข่าวสารของนักศึกษาคณะนิเทศศาสตร์
ประกิจ อาษา
จารุณี วรรณศิริกุล
สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์
8 . การพัฒนากิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมในชุมชนเต่างอยของโรงงานหลวงอาหารสำเร็จรูปที่ ๓ (เต่างอย) จ.สกลนคร กับ เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาสาขานิเทศศาสตร์
เวทิต ทองจันทร์
9 . กระบวนการสอนเชิงปฏิบัติการเพื่อสื่อความหมายภาพจิตกรรมในหัวข้อ วาดฝัน ฉันจะเป็น… ภายใต้โครงการจิตอาสาพัฒนาเต่างอย
สุริยะ ฉายะเจริญ
10. การพัฒนากล้องถ่ายรูปดิจิทัลส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการใช้กล้องของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
พัฒนพนธ์ งามไพบูลย์สมบัติ
11. รูปแบบการสื่อความหมายที่ปรากฎบนปกนิตยสารรถกระบะ
ญาณเสฏฐ์ ตั้งเขื่อนขันธ์
12. การนำเสนอรายการกีฬาของช่องสื่อโทรทัศน์ดาวเทียม SMM TV
วรพจน์ อัศวพงษ์โชติ
13. การสร้างเว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์ของเล่นพื้นบ้านไทยสำหรับพิพิธภัณฑ์เล่นได้ จังหวัดเชียงราย
วรางคณา โตจำสี
พรประภัสสร ปริญชาญกล
ปกรณ์ สุปินานนท์
14. วิจารณ์หนังสือ The Theater Experience ของ Edwin Wilson
ชโลธร จันทะวงศ์
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 16 ปี 2558
1. ข้อเสนอแนะประเด็นการสื่อสารเพื่องานวิจัยนิเทศศาสตร์ตามแนวคิด “ปฏิปักษ์สัมพันธ์ ”(Symbiosis)ในยุคดิจิทัล
ศิริชัย ศิริกายะ
2. กระบวนการสร้างสรรค์ภาพวาดเส้นชุด “มะนิลา 2557”
สุริยะ ฉายะเจริญ
3 . การสร้างสรรค์งานภาพถ่ายทางอากาศสำหรับภาพยนตร์โฆษณาอสังหาริมทรัพย์
เวทิต ทองจันทร์
4 . สื่อสังคมออนไลน์เครื่องมือการสื่อสารภาวะวิกฤตในยุคดิจิทัล
กัลยกร นรภัทรทวีพร
5 . พลังแห่งการประชาสัมพันธ์ในการสร้างความแข็งแกร่งให้วัฒนธรรมองค์กร : สืบสาน สอดส่องประสานความเข้าใจในสภาวะการเปลี่ยนแปลง
ธีรวันทร์ โอภาสบุตร
6 . การสื่อสารด้วยลายเส้นเพื่อบ่งบอกถึงลักษณะดีหรือร้ายของตัวการ์ตูนเฉพาะเรื่องที่คัดสรร
ลัทธสิทธิ์ ทวีสุข
7 . ความลงตัวของสื่อและสารในรายการคลับ ฟรายเดย์
ยุทธนา สุวรรณรัตน์
8 . จังหวะของการสื่อสารในรายการโทรทัศน์ประเภทเรียลลิตีเกมส์โชว์ที่คัดสรร
เจตน์จันทร์ เกิดสุข
9 . การศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อโฆษณา ณ จุดซื้อและการตัดสินใจซื้อขนมขบเคี้ยวของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร
กุลธิดา ธรรมวิภัชน์
พรรษา เอกพรประสิทธิ์
ภัชธีญา อ่วมอารีย์
10. ปัจจัยเรื่องการรับรู้ประโยชน์จากการใช้งานเฟสบุ๊กแฟนเพจที่มีต่อการมีส่วนร่วมและการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคคนไทย
วสุพล ตรีโสภากุล
ดุษฎี โยเหลา
11. การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติเพื่อป้องกันสถานการณ์ “คุณแม่วัยใส”
ทัศนีย์ ดำเกิงศักดิ์
12. ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาศักยภาพผู้สื่อข่าวสำนักข่าวไทยของสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ในการเข้าสู่ทีวีดิจิทัล
สกนธ์ จินดาวรรณ
13. พฤติกรรมและความพึงพอใจในการเปิดรับฟังสถานีวิทยุจราจรเพื่อสังคม FM 99.5 MHz ของผู้ขับรถแท็กซี่ในเขตกรุงเทพมหานคร
ฉัตรพัฒน์ บุญมาก
ธนชาติ จันทร์เวโรจน์
14. พฤติกรรมการเปิดรับการรายงานข่าวพยากรณ์อากาศของสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยที่มีผลต่อทัศนคติและการนำข้อมูลข่าวสารไปใช้ประโยชน์
อภิสิทธิ์ จันทร์เต็ม
จินตวีร์ เกษมศุข
15. พฤติกรรมการเปิดรับชมและองค์ประกอบของรายการที่มีผลต่อการอยู่รอดของ ทีวีดิจิทัลประเภทบริการธุรกิจ 24 ช่องในมุมมองของผู้ชมในเขตกรุงเทพมหานคร
น้ำฝน บำรุงศิลป์
พรทิพย์ เย็นจะบก
16. พฤติกรรมการเปิดรับสื่อและความพึงพอใจต่อสื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์ในองค์กรของพนักงานบริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด (สำนักงานใหญ่)
วิลาวัลย์ ศศิตราภรณ์
จินตวีร์ เกษมศุข
17. ปัจจัยการสื่อสารที่มีผลต่อการตัดสินใจติดตามเชียร์สโมสรบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
วรชาติ อดุลยานนท์
กาญจนา มีศิลปวิกกัย
18. ทัศนคติและความพึงพอใจของผู้ชมรายการชาติมั่งคงทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก
ปัณณชน ขัตติสร
กาญจนา มีศิลปวิกกัย
19. Book Review ‘เขียนไปให้สุดฝัน’
ชญาณี ฉลาดธัญญกิจ
วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 17 ปี 2558
1. การทบทวนแนวคิด นิยาม และคุณลักษณะของดิจิทัลเนทีฟและดิจิทัลอิมมิแกรนท์
ศุภกร จูฑะพล
พัชนี เชยจรรยา
2. การออกแบบดิจิทัลคอนเทนท์เพื่อสร้างแรงจูงใจในการให้ทุนสนับสนุนโครงการภาพยนตร์แอนิเมชั่น
คมภิญญ์ เข็มกำเนิด
3 . การใช้คาแรคเตอร์การ์ตูนเพื่อสื่อสารทางอารมณ์และความรู้สึกกรณีศึกษาสติ๊กเกอร์ไลน์
สมเกียรติ ศรีเพ็ชร
4 . พฤติกรรมการรับชม ความพึงพอใจ ความต้องการรับชม กรณีศึกษา : ช่องชลบุรี 1
พิชญาภัค พ่วงมา
5 . กระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ “ดิ อะเมซิง เรซ, ฤดูกาลที่ 26, ตอนที่ 3”
ชโลธร จันทะวงศ์
6 . การสร้างสรรค์ภาพนิ่งเพื่อสื่อความเคลื่อนไหวแบบการแพนกล้อง
ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง
7 . การถ่ายภาพแบบแคนดิด คือ หนทางแห่งการบันทึกความบริสุทธิ์
กิตติธัช ศรีฟ้า
8 . ความรู้ในตราสินค้าและความคิดเห็นต่อตราสัญลักษณ์การไฟฟ้านครหลวงของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
เมธี ภู่ศรี
9 . ปัญหาและการแก้ปัญหางานประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภูมิภาคตะวันตก
ธนารีย์ สะสุนทร
10. พฤติกรรมการเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ ความรู้ความเข้าใจทัศนคติและพฤติกรรมการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นของเยาวชนในจังหวัดฉะเชิงเทรา
อรุณ คงดี
11. พฤติกรรมการเปิดรับ ทัศนคติ ปัจจัยสื่อสารทางการตลาดและการตัดสินใจลงโฆษณาในนิตยสารแจกฟรีในจังหวัดระยองของผู้มีอำนาจตัดสินใจซื้อโฆษณา
พิมลณัฐ ณัฐชยางยุทธ์
12. โฆษณากับการซื้อสินค้าของแรงงานต่างชาติในเขตภาษีเจริญ
เอกสิทธิ์ อวยชัยวัฒน์
ปวรรศ จันทร์เพ็ญ
13. การเปิดรับข่าวสาร พฤติกรรมการซื้อ ความคิดเห็น และการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อลดนํ้าหนักที่จำหน่ายผ่านสื่อออนไลน์ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
เสาวนีย์ เทพพนมรัตน์
14. พฤติกรรมการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตและส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อการควบคุมนํ้าหนักของประชากรในจังหวัดชลบุรี
จิฑามาส ไพรจิตรสุวรรณ
15. ทัศนคติ และความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในเขตจังหวัดชลบุรีที่มีต่อธนาคารกสิกรไทย จำกัด
อรวดี น้อยแก่น
ปริยา รินรัตนากร
16. การใช้วงจรควบคุมคุณภาพพีดีซีเอในการจัดทำหนังสือพิมพ์สยามเพรส (ภาควิชาการหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม)
สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์
ประกิจ อาษา
จารุณี วรรณศิริกุล
17. การวิเคราะห์วาทกรรมจาก “ข่าว กทม.” ในหนังสือพิมพ์รายวันที่เผยแพร่ช่วงการชุมนุมทางการเมืองของกลุ่ม กปปส.
รัฐเขต ปรีชล
18. การจัดการการสื่อสารเพื่อการจัดระเบียบชุมชนและสถานบันเทิงชุมชนคลองหก จังหวัดปทุมธานี
ณพนันท์ ขอจิตต์เมตต์
19. วิจารณ์หนังสือ “พลังแห่งการประชาสัมพันธ์” ของ รองศาสตราจารย์ รุ่งนภา พิตรปรีชา
ธีรวันท์ โอภาสบุตร