รวมเรื่องน่ารู้ สำหรับนักวิจัย
เกณฑ์การประเมินคุณภาพวารสาร (Journal Quality Criteria)
- ข้อควรระวัง หากคิดจะส่งบทความวิจัยไปตีพิมพ์ในวารสารประเภท Open Access โดย รุจเรขา วิทยาวุฑฒิกุล
- วารสารที่ผลิตในประเทศไทย และปรากฎในฐานข้อมูลสากล
- แหล่งตรวจสอบรายชื่อวารสารนานาชาติ ที่ปรากฎในฐานข้อมูลสากล
- ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI: Thai Journal Citation Index Centre)
- Thai Journals Online (ThaiJO)
- ASEAN Citation Index (ACI)
- การประเมินคุณภาพผลงานวิจัย : ปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต
- การสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับดัชนีชี้วัดคุณภาพวารสาร
- ดัชนีวัดคุณภาพวารสารและผลงานวิจัยชนิดต่างๆ ที่นักสารสนเทศควรรู้จัก
- SJR (SCImago Journal Rank) และดัชนีชี้วัดคุณภาพวารสารชนิดต่างๆ
- ดัชนี H index, SJR, SNIP
- ดัชนี Impact Factor
- Eigenfactor
- Google Scholar Citations
- ERA journal ranking (Excellence in Research for Australia)
- การประเมินคุณภาพงานวิจัย ด้วยวิธีการศึกษา Bibliometrics (Impact Factor, h index)
- Quality Analysis of Academic Journals published in Thailand
- Peer-reviewed journals หมายถึงอะไร ?
- PEER REVIEW and the Acceptance of New Scientific Ideas
โจรกรรมทางวรรณกรรม / การขโมยคัดลอกผลงานของผู้อื่น (Plagiarism)
- อย่างไรคือ การลอกเลียนผลงานทางวิชาการ
- CopyCat : ระบบตรวจสอบการคัดลอกและลอกเลียนเอกสารอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ (ของ NECTEC)
- Copyscape : An online service for detecting online plagiarism
- CrossCheck : An initiative from CrossRef to help the scholarly publishers verify the originality of submitted manuscripts. (Powered by iThenticate)
- Deja Vu : plagiarism detection software for fine arts
- Dupli Checker : Free Online Plagiarism Detection Tool
- eTBLAST 3.0 : A text similarity-based engine for searching literature collections (from Virginia Bioinformatics Institute)
- Grammarly Instant Grammar Check, Plagiarism ckecker
- PaperRater : Free Online, Check Your Paper for Plagiarism
- PlagiarismCheck.org : Online Plagiarism Detection System
- Plagiarism Detector : The leading Plagiarism Detection software solution
- Plagiarism Checker : Free Plagiarism Detection on the Internet
- Plagiarisma : Free Online Plagiarism Checker for Students, Teachers, Scholars, Educators, Scientists, Essayists, Writers.
- Plagscan : Free, automatic and efficient duplicate content analysis.
- Plag Tracker : A plagiarism checker benefits teachers, students, website owners, and anyone else interested in protecting their writing
- The Plagiarism Checker This free plagiarism detector will find plagiarized text in homework and other essays/reports.
- Turnitin : Plagiarism software
- Viper (Scan My Essay) : Free Plagiarism Scanner
- WCopyfind (free software)
- WriteCheck : Plagiarism checker due to the vital grammar checking features and great explanations
- ระบบอักขราวิสุทธิ์ : ระบบตรวจจับการคัดลอกวิทยานิพนธ์
คู่มือการอ้างอิง Citation Style
- Citation Style Guides University of Alberta Libraries
- นงลักษณ์ ไม่หน่ายกิจ. “สารนิเทศ อิเล็กทรอนิกส์ : การอ้างอิง / บรรณานุกรม.” วารสารห้องสมุด 41 (มกราคม-มีนาคม 2540) : 12-17.
- พิมลพรรณ เรพเพอร์. “การเขียนบรรณานุกรมสื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ ในรายงานวิจัย (ตอนที่ 1).”
- พิมลพรรณ เรพเพอร์. “การเขียนบรรณานุกรมสื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ ในรายงานวิจัย (ตอนที่ 2).”
- ประกาศ มหาวิทยาลัยสยาม เรื่อง กำหนดรูปแบบการอ้างอิงหลักฐาน และบรรณานุกรมในผลงานทางวิชาการ
หมายเหตุ : รูปแบบการเขียนรายการบรรณานุกรม สาขามนุษยศาสตร์ นิยมใช้ MLA สาขาสังคมศาสตร์ ใช้ APA สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพใช้ Vancouver ส่วน Chicago style การอ้างอิงภายในเนื้อหา (text citation) แบบนาม-ปี (Author-Date) นิยมใช้ในสาขาสังคมศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ส่วนสาขามนุษยศาสตร์และศิลปศาสตร์ นิยมใช้การอ้างอิงแบบ Documentary Note คือใช้หมายเลข (number) ในเนื้อหา และเขียน note ข้างท้าย page ที่เรียกว่า footnote หรือข้างท้าย paper ที่เรียกว่า endnote
FOR BIOMEDICAL STYLES
- Citing Medicine, 2nd edition : The NLM Style Guide for Authors, Editors, and Publishers (E-book from PubMed BookShelf)
- Recommendations for the Conduct, Reporting, Editing and Publication of Scholarly Work in Medical Journals: Sample References – International Committee of Medical Journal Editors (ICMJE)
- จิราภรณ์ จันทร์จร. (2554). การเขียนเอกสารอ้างอิงแบบแวนคูเวอร์ (Vancouver Style). สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2558, จาก ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- Uniform Requirements for Manuscripts Submitted to Biomedical Journals (Vancouver) from ICMJE
- Uniform Requirements for Manuscripts Submitted to Biomedical Journals. Ann Intern Med January 1, 1997 126:36-47.
- วิวัฒน์ โรจนพิทยากร. “การเขียนเอกสารอ้างอิง ในวารสารทางวิชาการ โดยใช้ระบบแวนคูเวอร์.” วารสารโรคติดต่อ 24 (ตุลาคม-ธันวาคม 2541) : 465-72.
- การเขียนบรรณานุกรมโดย Vancouver style
FOR SOCIAL SCEINCES, ARTS & HUMANITIES
- American Psychological Association (APA) Format
- Citing Sources using APA manual (6th ed.)
- Using Modern Language Association (MLA) Format
- นันทพร ธนะกูลบริภัณฑ์. (2558). การอ้างอิงและการเขียนรายการเอกสารอ้างอิง ตามแบบ APA (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
FOR PHYSICAL SCEINCES
- American Chemical Society (ACS) style guide
- American Institute of Physics (AIP) style
โปรแกรมจัดการบรรณานุกรม (Reference Management Softwares)
เลขมาตรฐานสากล
- เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ ISBN สำนักหอสมุดแห่งชาติ
- คู่มือการใช้งานระบบ e-service การขอเลขมาตรฐานสากล
- การขอเลขมาตรฐานประจำหนังสือ ISBN/ วารสาร ISSN ผู้ใช้สามารถติดต่อขอใช้บริการด้วยตนเองผ่านระบบ e-Service ของสำนักหอสมุดแห่งชาติได้ที่ http://e-service.nlt.go.th/ หากมีข้อขัดข้องการใช้บริการสามารถติดต่อ โทรศัพท์ 0-2280-9845, 0-2280-9828-32 ต่อ 135, 136, 137,140 โทรสาร : 02280-9858 อีเมล์ : isbn@nlt.go.th หรือ issn@nlt.go.th