Phunnee Jewbuddhidham

การประกันคุณภาพการศึกษา-ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน -สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ ปีการศึกษา 2561 องค์ประกอบที่ 3 การบริหารจัดการ ตัวบ่งชี้คุณภาพ 3.6 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน คำอธิบายตัวบ่งชี้: การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เป็นภารกิจสำคัญของคณะตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซึ่งหน่วยงานต้องมีระบบและกลไกในการควบคุมตรวจสอบ ประเมิน และพัฒนาการดำเนินงานของหน่วยงาน ให้เป็นไปตามนโยบายเป้าประสงค์ และระดับคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนดโดยสถาบันและหน่วยงานต้นสังกัดตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการวัดผลสำเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในรวมทั้งการรายงานผลการประกันคุณภาพต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน มีการประเมินและปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและมีนวัตกรรมที่เป็นแบบอย่างที่ดี การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการสร้างจิตสำนึกให้เห็นว่าเป็นความรับผิดชอบร่วมกันของทุกคนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้ เพื่อเป็นหลักประกันแก่สาธารณชนให้มั่นใจได้ว่า หน่วยงานสามารถสร้างผลผลิตที่มีคุณภาพ เกณฑ์มาตรฐานการประเมิน 5  ข้อ ดังนี้ 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสมและสอดคล้องกับพันธกิจหน่วยงาน และดำเนินการตามระบบที่กำหนด 2. มีการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ครบถ้วน ประกอบด้วย 1) การควบคุม ติดตามการดำเนินงาน และประเมินคุณภาพ 2) การจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพเสนอต่อสถาบันตามกำหนดเวลา โดยเป็นรายงานที่มีข้อมูลครบถ้วนตามที่สถาบันกำหนด 3) การนำผลการประเมินคุณภาพไปทำแผนการพัฒนาคุณภาพของหน่วยงาน 3. มีการนำผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาปรับปรุงการทำงาน และส่งผลให้มีการพัฒนาผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ทุกตัวบ่งชี้ 4. […]

การประกันคุณภาพ-ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 2561 Read More »

การประกันคุณภาพการศึกษา-มีการสำรวจความต้องการของผู้รับบริการ –สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ ปีการศึกษา 2561 องค์ประกอบที่ 2 การดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงาน ตัวบ่งชี้คุณภาพ 2.2 มีการสำรวจความต้องการของผู้รับบริการ คำอธิบายตัวบ่งชี้: ในการให้บริการของหน่วยงานต่างๆ ควรมีการสำรวจความต้องการของผู้รับบริการในกลุ่มต่างๆ เพื่อสามารถจัดบริการตอบสนองได้ตรงตามความต้องการ เกณฑ์มาตรฐานการประเมิน 5  ข้อ ดังนี้ มีแผนในการสำรวจความต้องการของผู้รับบริการครอบคลุมบริการทุกประเภทของหน่วยงาน ดำเนินการสำรวจความต้องการบริการตามแผนครอบคลุมบริการทุกประเภทของหน่วยงาน มีการสำรวจความต้องการจากผู้รับบริการครอบคลุมทุกกลุ่มผู้รับบริการ นำผลการสำรวจมาวิเคราะห์ข้อมูล นำผลการวิเคราะห์ไปปรับปรุงพัฒนาบริการของหน่วยงาน เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน 1 2 3 4 5 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4  ข้อ 5 ข้อ หลักฐานที่ต้องการ: แผนการสำรวจความต้องการของผู้รับบริการ แบบสำรวจความต้องการของผู้รับบริการ สรุปผลการสำรวจความต้องการของผู้รับบริการ ผลการดำเนินงานของสำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ ตามเกณฑ์มาตรฐาน  ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 มีการสำรวจความต้องการของผู้รับบริการ เกณฑ์มาตรฐาน: 1. มีแผนในการสำรวจความต้องการของผู้รับบริการครอบคลุมบริการทุกประเภทของหน่วยงาน ผลการดำเนินงาน:  สำนักฯ ได้จัดทำแผนการสำรวจความต้องการของผู้ใช้บริการ โดยได้กำหนดไว้ใน

การประกันคุณภาพ-มีการสำรวจความต้องการของผู้รับบริการ 2561 Read More »

การประกันคุณภาพการศึกษา-การจัดสภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวยความสะดวกให้เอื้อต่อการเรียนรู้ –สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ ปีการศึกษา 2561 องค์ประกอบที่ 2 การดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงาน ตัวบ่งชี้คุณภาพ 2.5 การจัดสภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวยความสะดวกให้เอื้อต่อการเรียนรู้ คำอธิบายตัวบ่งชี้:  ห้องสมุดควรจัดสภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อให้เอื้อต่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง และสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บริการ ทั้งการจัดการสภาพแวดล้อม อาทิเช่น พื้นที่และที่นั่งอ่านเพียงพอ เป็นสัดส่วนและพร้อมใช้บริการ แสงสว่าง การถ่ายเทอากาศ ความสะอาดเรียบร้อย ความเงียบสงบ ตลอดจนการจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศบนชั้นให้ถูกต้องง่ายต่อการค้นหา และการจัดหาสิ่งอำนวยความสะดวก ทั้งอุปกรณ์ เครื่องมือ เทคโนโลยีที่ทันสมัย และโทรคมนาคมที่จำเป็น อาทิเช่น จำนวนและประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่อพ่วงกับสื่อมัลติมีเดีย ระบบ WI-FI ที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมทุกพื้นที่ภายในห้องสมุด เพื่อช่วยให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึง ทรัพยากรสารสนเทศ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว เกณฑ์มาตรฐานการประเมิน 5  ข้อ ดังนี้ มีการสำรวจความต้องการด้านสภาพแวดล้อม และด้านอุปกรณ์และเครื่องมือที่ให้บริการ มีการวางแผนการจัดการด้านสภาพแวดล้อม และด้านอุปกรณ์และเครื่องมือที่ให้บริการ ให้สอดคล้องกับความต้องการ มีการดำเนินงานตามแผนการที่กำหนด มีการประเมินผลความสำเร็จการบรรลุเป้าหมายตามแผนงาน/โครงการไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 มีการนำข้อเสนอแนะจากการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนา เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน 1 2 3 4 5

การประกันคุณภาพ-การจัดสภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวยความสะดวกให้เอื้อต่อการเรียนรู้ 2561 Read More »

การประกันคุณภาพการศึกษา-ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ –สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ ปีการศึกษา 2561 องค์ประกอบที่ 3 การบริหารจัดการ ตัวบ่งชี้คุณภาพ 3.4 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ คำอธิบายตัวบ่งชี้: หน่วยงานควรมีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจที่สอดรับกับนโยบายและการวางแผนระดับหน่วยงาน เพื่อให้เป็นระบบที่สมบูรณ์สามารถเชื่อมโยงกับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก เป็นระบบที่ใช้งานได้ทั้งเพื่อการบริหาร การวางแผนและการตัดสินใจของผู้บริหารทุกระดับ เพื่อการปฏิบัติงานตามภารกิจทุกด้านของบุคลากร เพื่อการติดตามตรวจสอบและประเมินการดำเนินงาน ตลอดจนเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาหน่วยงาน  ทั้งนี้ ระบบดังกล่าวต้องมีความสะดวกในการใช้งานโดยประเมินจากความพึงพอใจของผู้ใช้ เกณฑ์มาตรฐานการประเมิน 5  ข้อ ดังนี้ มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจตามพันธกิจของหน่วยงาน การบริหารจัดการ การเงิน ฯลฯ สามารถนำไปใช้ในการบริหารและการตัดสินใจ มีการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อตอบสนองหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ มีการนำผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศมาปรับปรุงระบบสารสนเทศ มีการส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายของหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้องตามที่กำหนด เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน 1 2 3 4 5 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4  ข้อ 5 ข้อ หลักฐานที่ต้องการ: ระบบสารสนเทศ ฐานข้อมูลต่างๆ ที่ใช้เพื่อการบริหารจัดการและการตัดสินใจ รายงานการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ

การประกันคุณภาพ-ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ 2561 Read More »

การประกันคุณภาพการศึกษา-ระบบและกลไกในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่างๆของหน่วยงาน –สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ ปีการศึกษา 2561 องค์ประกอบที่ 2 การดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงาน ตัวบ่งชี้คุณภาพ 2.1 มีระบบและกลไกในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่างๆของหน่วยงาน คำอธิบายตัวบ่งชี้: การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับบริการของหน่วยงานให้กับผู้เกี่ยวข้องและผู้รับบริการได้ทราบเป็นประเด็นสำคัญสำหรับหน่วยงานบริการ เพื่อให้ผู้รับบริการเข้าใจในภารกิจของหน่วยงานโดยหน่วยงานต้องกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางในการเผยแพร่ ตลอดจนมีการประเมินผลการให้ข้อมูลเพื่อนำผลมาปรับปรุง เกณฑ์มาตรฐานการประเมิน 6  ข้อ ดังนี้ 1. มีการกำหนดข้อมูลและแนวทางการเผยแพร่ข้อมูลการให้บริการ 2. มีการกำหนดผู้รับผิดชอบดำเนินการในการเผยแพร่ข้อมูล 3. มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นของหน่วยงานให้ผู้เกี่ยวข้องและผู้รับบริการ 4. มีการตรวจสอบประเมินข้อมูลข่าวสารให้ถูกต้องและทันสมัย 5. มีการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการข้อมูล 6. มีการนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาระบบการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน 1 2 3 4 5 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4  ข้อ 5-6 ข้อ หลักฐานที่ต้องการ: 1. ข้อมูลการให้บริการ 2. ขั้นตอนการให้บริการและผู้รับผิดชอบ 3. ช่องทางเผยแพร่ข้อมูลการให้บริการ 4.

การประกันคุณภาพ-ระบบและกลไกในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่างๆของหน่วยงาน 2561 Read More »

ชื่อวารสาร: วารสารกฎหมาย: Chulalongkorn Law Journal Print ISSN: 0125-3093 TCI: N/A สำนักพิมพ์: คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายละเอียด: แนะนำวารสาร 23 ส.ค. 2562 วารสารกฎหมาย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวารสารวิชาการสาขาวิชานิติศาสตร์ มีเป้าหมายและขอบเขตเพื่อตีพิมพ์บทความวิชาการและบทความวิจัยในสาขาวิชานิติศาสตร์ที่มีเนื้อหาน่าสนใจ ทันสมัย ริเริ่มสร้างสรรค์ และมีข้อเสนอที่เป็นประโยชน์ต่อวงการวิชาการสาขาวิชานิติศาสตร์และต่อสังคมในวงกว้าง Description: Chulalongkorn Law Journal is an academic journal of Faculty of Law, Chulalongkorn University which publishes scholarly works within the scope of or relating to law. The aim is to disseminate

วารสารกฎหมาย : Chulalongkorn Law Journal Read More »

ขอเชิญ อบรมเชิงปฏิบัติการ การสร้างสื่อการสอนด้วยโปรแกรม ActivePresenter  ในวันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม 2562 เวลา 9.00-16.00 น. ณ ห้องฝึกอบรม 5-108 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จัดโดย ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาระบบสารสนเทศ สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม เพื่อเสริมทักษะการสร้างสื่อการสอนที่เป็นมากกว่าแค่สไลด์ทั่วไป สามารถประยุกต์ใช้ได้กับสื่อการสอนทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็น Word PPT Excel Multimedia Youtube Video Editing Interaction Animation ใช้เสริมสร้างการเรียนรู้ให้กับนักศึกษา (ผู้เข้าร่วมอบรมต้องมีโน้ตบุคเป็นของตนเอง) สมัครได้แล้ววันนี้ที่ https://bit.ly/2OXIMWN อบรมเชิงปฏิบัติการ การสร้างสื่อการสอนด้วยโปรแกรม ActivePresenter

อบรมเชิงปฏิบัติการ การสร้างสื่อการสอนด้วยโปรแกรม ActivePresenter Read More »

เครือข่าย TU-THAIPUL  (Thammasat University Libraries & Thailand Private University Libraries) คือ เครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดในการแบ่งปันและใช้ข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศร่วมกัน (Resources sharing) เพื่ออำนวยความสะดวกในการสืบค้นและให้บริการระหว่างห้องสมุด โดยใช้งานผ่านระบบ EDS (EBSCO Discovery Service) ของบริษัท EBSCO ความเป็นมา  ได้มีการประชุมเรื่องการใช้ทรัพยากรร่วมกันระหว่างกลุ่มความร่วมมือ TU-THAIPUL ในครั้งแรกเมื่อวันพุธที่ 31 พฤษภาคม 2559 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย โดยสมาชิกที่เข้าร่วมในระยะที่ 1 และ 2 ได้มีข้อตกลงร่วมกันในการให้บริการยืมระหว่างห้องสมุดแบบไม่มีค่าใช้บริการ ในระยะที่ 1: มีสถาบันที่เข้าร่วม 5 แห่ง โดยเริ่มใช้ระบบ EDS ในการยืมระหว่างกันเมื่อวันศุกร์ที่ 10 มิถุนายน 2559 ได้แก่ TU Libraries     : หอสมุดแห่ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ BU Libraries 

TU-THAIPUL [EDS] Newsletter 2019 Read More »

รายงานประจำปี 2561 สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม ประวัติ พัฒนาการ และ ลักษณะที่สำคัญขององค์กร การแบ่งองค์กรและการบริหารงาน คณะกรรมการ สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ การบริหารและการพัฒนาบุคลากร การบริหารงบประมาณ ผลการประกันคุณภาพภายในและสถิติการดำเนินงาน ทรัพยากรสารสนเทศ การจัดสภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวยความสะดวก กิจกรรมในรอบปี การพัฒนาและปรับปรุงงาน สรุปผลความพึงพอใจของผู้รับบริการ

รายงานประจำปี 2561 Read More »

TU-THAIPUL [EDS] Newsletter 2018 TU-THAIPUL [EDS] Newsletter -Dec-2018 TU-THAIPUL [EDS] Newsletter -Nov-2018 TU-THAIPUL [EDS] Newsletter -Oct-2018 TU-THAIPUL [EDS] Newsletter -Sep-2018 TU-THAIPUL [EDS] Newsletter -Aug-2018 TU-THAIPUL [EDS] Newsletter -Jul-2018 TU-THAIPUL [EDS] Newsletter -Jun-2018 TU-THAIPUL [EDS] Newsletter -May-2018 TU-THAIPUL [EDS] Newsletter-Apr-2018 TU-THAIPUL [EDS] Newsletter-Mar-2018 TU-THAIPUL [EDS] Newsletter -Feb-2018 TU-THAIPUL [EDS] Newsletter -Jan-2018 เครือข่าย TU-THAIPUL  (Thammasat University Libraries &

TU-THAIPUL [EDS] Newsletter 2018 Read More »

สุธน สุภาวงศ์ ผู้อำนวยการห้องสมุด-แบ่งปัน-แลกเปลี่ยนเรียนรู้: การจัดทำชั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-BookShelf) เผยแพร่บนเว็บไซต์

“คุณภาพของบุคลากร” เป็นปัจจัยสำคัญที่จะนำพาองค์กรไปสู่เป้าหมายได้ในฐานะเป็นผู้ปฎิบัติงานที่มีคุณภาพ  สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ จึงต้อง บริหารจัดการ ดูแล ฝึกอบรม และพัฒนาให้บุคลากรได้รับความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่ทันสมัยสอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของโลกที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีที่จะเป็นพลังเสริมให้บุคลากรปฎิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และพร้อมจะปฎิบัติงานที่ท้าทายความรู้ ความสามารถ สร้างความสำเร็จให้แก่องค์กรมากยิ่งขึ้น ตำแหน่ง/แผนก รายชื่อบุคลากรสำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ รวม 19 คน ผู้อำนวยการ 1.อาจารย์สุธน  สุภาวงศ์ (เริ่มงานเมื่อ 24ต.ค.60) ผู้ช่วยผู้อำนวยการ 2.อาจารย์คมเดช           บุญประเสริฐ แผนกพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ 7 คน 3.นาง พรรณี  จิวพุทธิธรรม     4.นาง สุดา   ทองชิว   5.นาย สุทธิพจน์  ลิ้มอุดมพัฒน์    6.นางสาว กัลยา  ศุภพันธุ์มณี  7.นาง อารี   แก้วพิพัฒน์  8.นาง อรุณี   ชื้นประไพ (มาปฏิบัติงาน3วัน/สัปดาห์)  9. นางสาว แคทรียา    ศิริวัฒนะนาวิน

การพัฒนาบุคลากร สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ ปีการศึกษา 2561 Read More »

สุธน สุภาวงศ์ ผู้อำนวยการห้องสมุด-แบ่งปัน-เรียนรู้ การเขียนบรรณานุกรม และการอ้างอิงตามมาตรฐาน APA

ข้อมูลบุคลากร สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ ปัจจุบันสำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ  มีจำนวนบุคลากรรวมทั้งหมด 12 คน (ไม่รวมบุคลากรของห้องสมุดมารวย@สยาม) โดยมีบุคลากรสายวิชาชีพบรรณารักษ์จำนวน 7 คนและสายวิชาชีพอื่นๆ จำนวน 5 คน (มีบุคลากรอัตราพิเศษ(พิการ) 1 คน) ผู้อำนวยการ สุธน สุภาวงศ์ (นาย) Mr.Suthon Supawong อาคารเฉลิมพระเกียรติ (อาคาร 12) ชั้น 3/ชั้นลอย   โทร.  0-2457-0068 ต่อ 5145 คมเดช  บุญประเสริฐ (นาย) Mr.Komdech Boonprasert ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ห้องดิจิตอล e-mail:  komdech.boo@siam.edu  โทร. 0-2457-0068 ต่อ 5245 กด 26 แผนกพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ 5 คน 1.นางพรรณี  จิวพุทธิธรรม   2.นางสุดา   ทองชิว   3.นายสุทธิพจน์  ลิ้มอุดมพัฒน์ 

บุคลากร สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ Read More »