ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 การประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ
เกณฑ์การประเมินและผลการดำเนินงาน
เกณฑ์มาตรฐาน | ผลการดำเนินงาน | ข้อมูลหลักฐาน |
1. มีการประเมินความพึงพอใจจากผู้รับบริการของหน่วยงานด้านสมรรถนะของบุคลากรผู้ให้บริการ |
สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ ได้สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสำนักฯ ด้านบุคลากร/ผู้ให้บริการ โดยได้ประเมินความพึงพอใจในข้อของสมรรถนะต่างๆของบุคลากร/ผู้ให้บริการ ได้แก่
|
เอกสารหมายเลข 18
ดูรายละเอียดได้ที่ “สรุปผลการประเมินความต้องการและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม ประจำปีการศึกษา 2564” หรือที่ https://e-library.siam.edu/wp-content/uploads/2019/07/Contentment-library-2564.pdf |
2. มีการประเมินความพึงพอใจจากผู้รับบริการของหน่วยงานด้านการบริการ |
สำนักฯ ได้สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสำนักฯ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอน และความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการ โดยมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก คะแนนเฉลี่ย 3.88 คะแนน โดยได้ประเมินความพึงพอใจในแต่ละหน่วยงานด้านการบริการ ใน 7 หน่วยบริการ ได้แก่
|
เอกสารหมายเลข 18
ดูรายละเอียดได้ที่ “สรุปผลการประเมินความต้องการและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม ประจำปีการศึกษา 2564” หรือที่ https://e-library.siam.edu/wp-content/uploads/2019/07/Contentment-library-2564.pdf |
3. มีการประเมินความพึงพอใจจากผู้รับบริการด้านความพร้อม ความเพียงพอและความเหมาะสม ของอุปกรณ์ในการให้บริการ |
สำนักฯ ได้สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสำนักฯ ด้านอุปกรณ์และเครื่องมือที่ให้บริการ/สิ่งอำนวยความสะดวก โดยมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก คะแนนเฉลี่ย 3.53 คะแนน ซึ่งมีข้อย่อยในเรื่องของความพร้อม ความเพียงพอและความเหมาะสม ของอุปกรณ์ในการให้บริการ ได้แก่
|
เอกสารหมายเลข 18
ดูรายละเอียดได้ที่ “สรุปผลการประเมินความต้องการและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม ประจำปีการศึกษา 2564” หรือที่ https://e-library.siam.edu/wp-content/uploads/2019/07/Contentment-library-2564.pdf |
4. ผลการประเมินความพึงพอใจอยู่ในระดับมากขึ้นไป (3.51 ขึ้นไป) |
สำนัก ได้สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสำนักฯ โดยทำการสำรวจครอบคลุมทั้งนักศึกษา คณาจารย์ และบุคลากร ใน 7 ประเด็น พบว่า ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อสำนักฯในปีการศึกษา 2564 โดยภาพรวมของคะแนนค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก คือ 3.77 คะแนน โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยในแต่ละด้าน ดังนี้
|
เอกสารหมายเลข 18
ดูรายละเอียดได้ที่ “สรุปผลการประเมินความต้องการและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม ประจำปีการศึกษา 2564” หรือที่ https://e-library.siam.edu/wp-content/uploads/2019/07/Contentment-library-2564.pdf |
5. มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนา |
สำนักฯ ได้นำผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ จากผลการประเมินด้านที่มีคะแนนน้อยและข้อเสนอแนะเมื่อปีการศึกษา 2563 (ระดับความพึงพอใจโดยรวมทั้ง 7 ด้านอยู่ในระดับมาก 3.78 คะแนน) โดยได้นำมาปรับปรุงพัฒนาในปีการศึกษา 2564 ดังนี้ 1. ด้านกระบวนการ/ขั้นตอน และความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการ (ปีการศึกษา 2563 ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก 3.79 คะแนน และในปีการศึกษา 2564 เพิ่มขึ้นที่ 3.88 คะแนน) สำนักฯ จัดให้มีกระบวนการการให้บริการและวิธีการใช้บริการทางออนไลน์ต่างๆ บนเว็บไซต์หลากหลายบริการเพื่อให้ผู้ใช้บริการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้มากขึ้น ได้แก่
2. ด้านการประชาสัมพันธ์และการสื่อสาร ได้จัดทำโครงการ “การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารและบริการของสำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ” (ปีการศึกษา 2563 ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก 3.80 คะแนน และในปีการศึกษา 2564 ลดลงที่ 3.71 คะแนน) โดยได้พัฒนา ดังนี้
ส่วนผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ จากผลการประเมินในปีการศึกษา 2564 (ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ อยู่ในระดับมาก ทั้ง 7 ด้าน ด้านที่มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด คือด้านกระบวนการ/ขั้นตอน และความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการ เฉลี่ย 3.88 รองลงมาตามลำดับ คือด้านสภาพแวดล้อม เฉลี่ย 3.84 ด้านบุคลากร เฉลี่ย 3.82 ด้านทรัพยากรสารสนเทศ (หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลฯ) คะแนนเฉลี่ย 3.75 ด้านการประชาสัมพันธ์และการสื่อสาร เฉลี่ย 3.71 ด้านการเปิดทำการและระเบียบการใช้บริการ เฉลี่ย 3.61 และด้านที่ได้คะแนนน้อยที่สุดคือด้านอุปกรณ์และเครื่องมือที่ให้บริการ/สิ่งอำนวยความสะดวก เฉลี่ย 3.53 คะแนน) โดยจะนำไปวางแผนการปรับปรุงพัฒนาในปีการศึกษา 2565 ดังนี้
|
เอกสารหมายเลข 11.2
ที่เว็บไซต์สำนักฯ https://e-library.siam.edu/ ที่เมนูหลัก “บริการ” 1) https://e-library.siam.edu/opac/ 2) https://discovery.ebsco.com/c/smokdd/ 3) https://e-library.siam.edu/ 4) https://e-library.siam.edu/library-open-hours/ 5) https://e-library.siam.edu/membership/ 6) https://e-library.siam.edu/circulation-service/ 7) https://e-library.siam.edu/suggestion-form-order/ 8) https://e-library.siam.edu/book-delivery/ 9) https://e-library.siam.edu/self-renew/ 10) https://e-library.siam.edu/electronic-information-service/ 11) https://e-library.siam.edu/tu-thaipul-2libplus-ill/ 12) https://e-library.siam.edu/training-service/ 13) https://e-library.siam.edu/reference-apa-6th-edition/ 14) https://ectl.siam.edu/courses/ 15) https://e-library.siam.edu/open-access-database/ 16) https://e-library.siam.edu/researcher-data-archives-repository-service/ 17) https://e-research.siam.edu/ 18) https://e-library.siam.edu/ebsco-host/ 19) https://publications.ebsco.com/?custId=s3576028&groupId=main&profileId=pfui 20) http://110.164.153.252/web_auth.html 21) https://e-library.siam.edu/group-study-room/ 22) https://e-library.siam.edu/category/information-for-researchers/textbook-resources/ 23) https://e-library.siam.edu/category/recommend/resourcestypes/ 24) https://e-library.siam.edu/category/รายงานประจำปี/ 25) https://e-library.siam.edu/manual-library-siamu/
|
6. มีการเทียบเคียงกับหน่วยงานภายในหรือภายนอกในประเด็นที่ต้องการพัฒนา และนำผลการ เทียบเคียงมาปรับปรุง |
เนื่องจากปีการศึกษาที่ผ่านมาหน่วยงานบริการต้องเผชิญกับสถานการณ์โรคโควิด-19 จึงจำเป็นต้องจัดให้มีบริการในระบบออนไลน์ สำนักฯ จึงได้เร่งพัฒนาการให้บริการให้ได้อย่างหอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ให้ได้มากที่สุดในประเด็นที่ต้องการพัฒนา คือ “การจัดหน่วยบริการให้มีการให้บริการบนแพลตฟอร์มออนไลน์/ในระบบดิจิทัล” โดยได้เทียบเคียงการมีบริการต่างๆบนแพลตฟอร์มออนไลน์ ในแต่ละบริการ ซึ่งถ้าหากบริการใดที่สำนักฯ ยังไม่ได้จัดให้มีบริการบนออนไลน์ตามอย่างหอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สำนักฯ จะได้นำมาพัฒนาให้ครบทุกบริการในปีการศึกษาต่อไป ดังนี้
ตามที่สำนักฯ ได้มุ่งเน้นประเด็นการพัฒนา “การจัดหน่วยบริการให้มีการให้บริการบนแพลตฟอร์มออนไลน์” เมื่อนำผลการเข้าใช้บริการทางออนไลน์ผ่านทางเว็บไซต์ของสำนักฯ กับเว็บไซต์ของหน่วยงานต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยสยาม โดยการจัดอันดับเว็บไซต์จาก Google Analytics พบว่า ปี 2565 เว็บไซต์ของสำนักฯ มีการเข้าใช้อยู่ในอันดับท็อบ 5 จากการเปรียบเทียบกับเว็บไซต์ของ 5 หน่วยงาน ตามลำดับการเข้าใช้ ดังนี้
|
เอกสารหมายเลข 11.3
Google Analytics ที่เว็บไซต์สำนักฯ https://e-library.siam.edu/wp-content/uploads/2022/04/e-library-Google-Analytics-2565-may.jpg |
ผลการดำเนินงาน………6……….ข้อ |
เกณฑ์การประเมิน
1 คะแนน | 2 คะแนน | 3 คะแนน | 4 คะแนน | 5 คะแนน |
1-2 ข้อ | 3 ข้อ | 4 ข้อ | 5 ข้อ | 6 ข้อ |
เป้าหมายของสำนัก : ….6….. ข้อ
ผลการดำเนินงาน : ….6….. ข้อ
ผลการประเมินตนเอง : ….5….. คะแนน