ผลการประเมิน ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ

ผลการประเมิน ความต้องการและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ประจำปีการศึกษา 2566


ผลการประเมิน ความต้องการและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ประจำปีการศึกษา 2565

ผลการประเมิน ความต้องการและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ประจำปีการศึกษา 2564

ผลการประเมิน ความต้องการและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ประจำปีการศึกษา 2563

ผลการประเมิน ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ประจำปีการศึกษา 2562

ผลการประเมิน ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ประจำปีการศึกษา 2561

ผลการประเมิน ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ประจำปีการศึกษา 2560

ผลการประเมิน ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ประจำปีการศึกษา 2559

ผลการประเมิน ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ประจำปีการศึกษา 2558

ผลการประเมิน ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ประจำปีการศึกษา 2557

ผลการประเมิน ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ประจำปีการศึกษา 2556

ผลการประเมิน ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ประจำปีการศึกษา 2555

ผลการประเมิน ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ประจำปีการศึกษา 2554


เนื่องจากคุณภาพในการให้บริการของห้องสมุดจะมากหรือน้อยเพียงใดก็ตาม ย่อมตรวจสอบได้จาก ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ จึงได้ดำเนินการสำรวจ ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการตามแผนที่กำหนดไว้ ในทุกปีการศึกษา  ตั้งแต่ปีการศึกษา 2544  เป็นต้นมา  โดยได้กำหนดแผนการดำเนินงานไว้ใน “แผนปฏิบัติงานประจำปี”  ซึ่งการสำรวจความพึงพอใจของสำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศมหาวิทยาลัยสยาม จะทำการสำรวจครอบคลุมทั้งนักศึกษา  คณาจารย์ และบุคลากร ใน 7 ประเด็นหลัก คือ

  • ด้านกระบวนการ/ขั้นตอน และความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการ
  • ด้านทรัพยากรสารสนเทศ
  • ด้านอุปกรณ์และเครื่องมือที่ให้บริการ
  • ด้านบุคลากร/ผู้ให้บริการ
  • ด้านวันและเวลาในการเปิดให้บริการและระเบียบการใช้บริการ
  • ด้านสภาพแวดล้อม
  • ด้านการประชาสัมพันธ์และการสื่อสาร

ผลการประเมิน ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ เป็นตัวชี้วัดความสำเร็จตัวหนึ่งในระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ในองค์ประกอบที่ 2 การดำเนินงานตามพันธกิจของหน่วยงาน ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ซึ่งกำหนดให้หน่วยงานต้องจัดให้มีการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการเพื่อนำผลมาปรับปรุงพัฒนางานบริการ โดยใช้เกณฑ์มาตรฐานการวัดค่าเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจของผู้รับบริการต่องานบริการแต่ละด้าน (คะแนนเต็ม 5)

หมายเหตุ: เกณฑ์การพิจารณาระดับความต้องการ/ความคาดหวังและความพึงพอใจ  ดังนี้

  • ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51 – 5.00 หมายถึง มากที่สุด
  • ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.51 – 4.50 หมายถึง มาก
  • ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.51 – 3.50 หมายถึง ปานกลาง
  • ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.51 – 2.50 หมายถึง น้อย
  • ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00 – 1.50 หมายถึง น้อยที่สุด

ผลการประเมิน ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ