วันดินโลก “World Soil Day” สดุดีพระเกียรติในหลวงรัชกาลที่ 9

วันดินโลก “World Soil Day” สดุดีพระเกียรติในหลวงรัชกาลที่ 9

องค์การสหประชาชาติ กำหนด 5 ธันวาคม ซึ่งเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพในหลวง รัชกาลที่ 9 ของทุกปี เป็นวันดินโลก “World Soil Day” เพื่อสดุดีพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9

วันดินโลก, ในหลวง ร9, world soil day, มหาวิทยาลัยสยามทั้งนี้ การประชุมขององค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ครั้งที่ 144 ระหว่างวันที่ 11-15 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ณ สำนักงานใหญ่องค์การเกษตรและอาหารแห่งสหประชาชาติ กรุงโรม ประเทศอิตาลี ได้มีมติให้มีการจัดตั้ง “วันดินโลก” (World Soil Day) ขึ้นมา เพื่อสดุดีพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9

วันดินโลก, ในหลวง ร9, world soil day, มหาวิทยาลัยสยามเนื่องจากทรงพระราชกรณียกิจในการจัดการทรัพยากรดินอย่างต่อเนื่องและยาวนาน ทรงขยายขอบเขตไปสู่เรื่องการพัฒนาและอนุรักษ์ดินเพื่อการเกษตรกรรม เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรให้สูงขึ้นหรือรักษาไว้ไม่ให้ตกต่ำ เช่น การวิจัยและการวางแผนการใช้ที่ดินเพื่อให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับลักษณะสภาพดิน การศึกษาเพื่ออนุรักษ์บำรุงรักษาและฟื้นฟูดิน มรรควิธีส่วนใหญ่เป็นวีธีการตามธรรมชาติที่พยายามสร้างความสมดุลของระบบนิเวศและสภาพแวดล้อมให้เกิดขึ้น เช่น ให้มีการปลูกไม้ใช้สอยร่วมกับการปลูกพืชไร่เพื่อประโยชน์ให้ได้ร่มเงาและรักษาความชุ่มชื้น หรือการปลูกพืชบางชนิดในพื้นที่ซึ่งดินไม่ดี แต่พืชชนิดนั้นให้ประโยชน์ในการบำรุงดินให้อุดมสมบูรณ์ขึ้นโดยไม่ต้องลงทุนใช้ปุ๋ยเคมี พื้นที่บางแห่งไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกพืชผล ทรงแนะนำให้ใช้ประโยชน์ด้านอื่น เช่น ฟื้นฟูเป็นทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์

วันดินโลก, ในหลวง ร9, world soil day, มหาวิทยาลัยสยามสหภาพวิทยาศาสตร์ทางดินนานาชาติ ได้ตระหนักถึงพระปรีชาสามารถและพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ด้านการพัฒนาทรัพยากรดินอย่างต่อเนื่อง เป็นรูปธรรม ยังผลให้การพัฒนาที่ดิน การอนุรักษ์ดินและน้ำ การปรับปรุงดินเสื่อมโทรม และดินที่มีปัญหา ดำเนินไปในทิศทางที่เหมาะสม และเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่เกษตรกรโดยทั่วหน้า ดังเช่น การนำหญ้าแฝกมาปลูกเพื่ออนุรักษ์ดินและน้ำ และป้องกันการพังทลายของหน้าดิน จนประเทศไทยกลายเป็นศูนย์กลางของการใช้เทคนิคและวิชาการเกี่ยวกับหญ้าแฝกที่ประสบผลสำเร็จ และมีความก้าวหน้ามากที่สุดประเทศหนึ่ง และทรงตระหนักถึงพื้นที่นับล้านไร่ในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ ที่นอกจากจะมีปัญหาดินไม่อุดมสมบูรณ์เป็นพื้นฐานแล้ว ดินยังมีปัญหาอื่นๆ ทั้งทางเคมีและทางฟิสิกส์อีกด้วย การเพาะปลูกพืชจึงให้ผลผลิตต่ำ เป็นผลให้ราษฎรมีฐานะยากจน พื้นที่ที่มีปัญหาเกี่ยวกับดิน ได้แก่ พื้นที่ดินพรุในภาคใต้ ซึ่งเป็นทั้งดินอินทรีย์ และดินเปรี้ยวจัด พื้นที่ดินเปรี้ยวจัดและดินเค็มในภาคกลาง และพื้นที่ดินทรายและดินตื้นในหลายภูมิภาค ด้วยพระมหากรุณาธิคุณ จึงได้พระราชทานพระราชดำริให้จัดตั้งศูนย์การศึกษาพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ทั้ง 6 แห่ง เป็นต้นแบบในการแก้ไขปัญหาของดิน ซึ่งจะต้องใช้กระบวนการบูรณาการในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ทั้งสิ้น เช่น ที่ศูนย์ศึกษาพัฒนาเขาหินซ้อนฯ เป็นต้นแบบของการฟื้นฟูดินตามธรรมชาติ ศูนย์ศึกษาพัฒนาพิกุลทองฯ เป็นปัญหาของดินที่เปรี้ยวจัด ศูนย์ศึกษาพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ เป็นแหล่งให้กำเนิดชีวิตของสัตว์ และพืช ซึ่งมีปัญหาของดินเค็ม ศูนย์ศึกษาพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ เป็นดินกรวดแห้งแล้ง และเป็นปัญหาของการบริหารด้านต้นน้ำลำธาร ศูนย์ศึกษาพัฒนาภูพานฯ เป็นดินทราย เค็ม ขาดน้ำ เป็นปัญหาของการจัดการดินและน้ำของภาคอีสาน และศูนย์ศึกษาพัฒนาห้วยทรายฯ เป็นปัญหาของดินเสื่อมโทรม เป็นดินทรายที่มีแร่ธาตุน้อย เป็นดอนคานและดินกรด เป็นต้น ส่วนวงวิชาการปฐพีวิทยาของประเทศ ตื่นตัวที่จะร่วมกันศึกษาวิจัยเพื่อฟื้นฟู บูรณะ พัฒนา และอนุรักษ์ทรัพยากรดินและน้ำตามแนวพระราชดำริอย่างเข้มแข็ง และมุ่งมั่นต่อไป ทำให้มั่นใจได้ว่า การฟื้นฟูและอนุรักษ์ความอุดมสมบูรณ์และคุณลักษณ์ที่พึงประสงค์ของทรัพยากรดินและน้ำของชาติ จะประสบความสำเร็จด้วยดี ด้วยเหตุดังกล่าว ในการประชุมสภาโลกแห่งปฐพีวิทยา ครั้งที่ 19 ณ เครือรัฐออสเตรเลีย ที่ประชุมมีมติเห็นสมควรขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาสทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดินเพื่อมนุษยธรรม แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เพื่อสดุดีพระเกียรติคุณให้เป็นที่ประจักษ์โดยทั่วกัน และกราบบังคมทูลเชิญให้ทรงดำรงตำแหน่งสมาชิก อะ ไลฟ์ เมมเบอร์ชิพ (A Life Membership)

วันดินโลก, ในหลวง ร9, world soil day, มหาวิทยาลัยสยามผลงานของพระองค์ได้ปรากฎเป็นผลสำเร็จ เป็นที่ประจักษ์อย่างกว้างขวางในระดับนานาชาติ เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2555 ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สตีเฟน นอร์ตคลิฟฟ์ (Emeritus Professor Dr. Stephen Nortcliff) พร้อมคณะผู้บริหาร กรรมการบริหารสหภาพวิทยาศาสตร์ทางดินนานาชาติ และผู้ที่เกี่ยวข้องเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดินเพื่อมนุษยธรรม (The Humanitarian Soil Scientist) สดุดีพระเกียรติคุณ และขอพระบรมราชานุญาตให้วันที่ 5 ธันวาคมของทุกปีเป็น “วันดินโลก” เพื่อให้วันดังกล่าวเป็นที่รู้จักแพร่หลายในระดับนานาชาติ

รางวัลที่สหภาพวิทยาศาสตร์ทางดินนานาชาติเชิญ มาทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ประกอบด้วย เหรียญรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดินเพื่อมนุษยชาติ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 7 เซนติเมตร หนา 0.5 ด้านหน้าของเหรียญ มีตราสัญลักษณ์และชื่อสหภาพวิทยาศาสตร์ทางดินนานาชาติ ด้านหลังของเหรียญจารึกพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และข้อความสดุดีพระเกียรติคุณ

วันดินโลก, ในหลวง ร9, world soil day, มหาวิทยาลัยสยามปีพ.ศ. 2558 กรมธนารักษ์จัดทำเหรียญกษาปณ์ที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในโอกาสที่สหภาพวิทยาศาสตร์ทางดินนานาชาติ ทูลเกล้าฯ ถวาย “รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดิน เพื่อมนุษยธรรม”

กิจกรรมวันดินโลกของประเทศต่าง ๆ
  1. การประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับ World Soil Day จากเว็บไซต์ต่าง ๆ
    – International Union of Soil Science (IUSS)
    – F AO, under the framework of the GSP
    – The British Society of Soil Science
    – The European Crop Protection Association
  2. Social Network
    – Facebook: World Soil Day – December 5
  3. รายงานเกี่ยวกับกิจกรรม World Soil Day 2012 ของประเทศต่าง ๆ

Africa

The Africa Soil Health Consortium wanted a fitting way to stimulate thinking about World Soil Day on 5 December 2012. They decided to turn their newsletter over to a diverse group of thinkers on soil health who between them covered the major issues of integrated soil fertility management. The result is a newsletter consisting of 15 wishes.
The web link to the newsletter is http://www.cabi.org/ashc/uploads/file/ASHC/ASHC%20Dec%20Newsletter.pdf
Bangladesh
Seminar on ‘Soil Degradation in Bangladesh’ on 05 December
The International Union of Soil Science (IUSS) proposed 5th December as WORLD SOIL DAY in 2002. As observance of the Soil Day the Department of Soil Science, BAU has organized a seminar on ‘Soil Degradation in Bangladesh’ on 05 December at 11 a.m.
Renowned soil scientist, Prof. Dr. M. Jahiruddin gave a scientific talk on causes and extent of soil degradation in Bangladesh and possible remedies to Soil Degradation. Ex Vice Chancellor of Bangladesh Agricultural University and Hajee Mohammad Danesh Science and Technology University Prof. Dr. M. Musharraf Hussain Mian was present there as the chief guest. He emphasized the importance of maintaining soil health for securing rapidly increasing population of Bangladesh as well as world. More than 50 Soil Scientists from Bangladesh Agricultural Research Institute (BINA), Bangladesh Agricultural Research Institute (BARI), Bangladesh Rice Research Institute (BRRI), Soil Science Department, Bangladesh Agricultural University attended the seminar.

Dubai

Shared the slogan “Healthy soils are essential for food security and sustainable ecosystem services” and congratulated December 5 as the First World Soil Day
The Dubai based International Center for Biosaline Agriculture (ICBA) along with the Global Soil Partnership (GSP) -managed by UN Food and Agricultural Organization (FAO), headquarters at Rome Italy, has celebrated December 5 as the First World Soil Day. The World Soil Day was initiated by the International Union of Soil Sciences (IUSS) in 2002.
At this occasion I would like to share the slogan: Healthy soils are essential for food security and sustainable ecosystem services. At this special occasion, great news for UAE nationals is the recent completion of National Soil Map and the UAE Soil Information System (UAESIS), and I would like to congratulate all of you on this significant achievement, especially the managements of Environment Agency – Abu Dhabi (EAD) and the UAE Ministry of Environment and Water (MOEW). Ismahane said, the future challenges for all of us are how to transform soil knowledge to tangible actions to facilitate rational use of soil resources for sustainable national development, biodiversity conservation, environmental protection, climate change adaptation and mitigation. Ismahane stressed, that in the absence of science based informed decisions the soils will continually be degraded and will undermine the Millennium Development Goal of poverty and hunger eradication. We must jointly raise our voice in the national and international policy debate, advocating for soil management approaches that contribute to achieving sustainable development and an equitable access to this finite resource. As ICBA DG I assure you all that we are closely working with colleagues across UAE and the world for the sustainable use of soils and their conservation.

Dr Ismahane Elouafi
Director General, International Center for Biosaline Agruiculture Dubai
United Arab Emirates Email: I.elouafi@biosaline.org.ae

Germany

In Germany the World Soil Day was used to announce the Soil of the Year 2013:
The Plaggic Anthrosol (Plaggenesch). The German name Plaggenesch combines the terms “Plaggen” and “Esch”. “Plaggen”, or sods, are flat blocks of soil material with its above herbal or shrub or grassy vegetation and felted roots, shallowly scraped with a hoe or a spade. “Esch” originated from the Gothic word “astic”, and describes a usually slightly more elevated area of the arable land. According to German Soil Taxonomy, the diagnostic horizon of a Plaggenesch is the “E” horizon, which is more than 40 cm in thickness, containing at least 0.6 % organic matter and increased phosphate contents. Additionally, artefacts such as charcoal, pieces of bricks and other remnants of daily use are typical findings. Plaggenesch soils can be differentiated into “Brown Plaggenesch” (resulting from loamy meadow sods of a brownish colour – picture on the left) and “Grey Plaggenesch” (composed of sandy and greyish heather sods – picture on the right).

Further information and material (posters, flyers, CD’s)
Kuratorium Boden des Jahres, Professor M. Frielinghaus, ZALF M?ncheberg, frielinghaus@zalf.de
Prof. Luise Giani, Uni Oldenburg: luise.giani@uni-oldenburg.de
Prof. Klaus Mueller, Dr. Lutz Markowski, HS Osnabr?ck: k.mueller@hs-osnabrueck.de; l.makowsky@hs-osnabrueck.de
Dr. Wolf Eckelmann, BGR Hannover: w.eckelmann@bgr.de
Bundesverband Boden (BVB), www.bvboden.de
Deutsche Bodenkundliche Gesellschaft (DBG), www.dbges.de
Museum am Sch?lerberg Osnabr?ck, Tel.: 0541-56003-0, info@museum-am-schoelerberg.de

Italy

(Workshop “The man and the soil: a never-ending story” at the South Tyrol Museum of Nature)
The Italian Society of Soil Science (SISS) and the Italian Society of Pedology (SIPe)
organised on the 4-5th of December 2012 the celebration of World Soil Day 2012, in Bolzano, in collaboration with the South Tyrol Museum of Nature.
More than 100 participants from any parts of Italy, among soil scientists, students, teachers, people of local and national administration, celebrated “the importance of soil as a critical component of the natural system and as a vital contributor to the human commonwealth through its contribution to food, water and energy security and as a mitigator of biodiversity loss and climate change”, as proposed during the 17th International Union of Soil Science Congress (Bangkok, 2002).
The programme of 2-day workshop “The man and the soil: a never-ending story” consisted of oral, poster presentations and a large public debate on link between soil and society. The contributions from participants highlighted the essential role that soil plays for humankind and put emphasis on the vulnerability of this important resource. The contributions pointed out that soil is a finite resource, non-renewable on a human time-scale and that inappropriate management practices, increasing demand or change in population pressure drive unsustainable and inadequate governance over this essential resource. The thousand-year-old relationship between soil and man was illustrated, and key-questions such as developing awareness about the importance of soil for the Man of Tomorrow were discussed. Thus, special emphasis was done to soil education and to the activities that schools and museums developed on this topic. The closing event of the World Soil Day 2012 was to present the conclusion draw from the workshop, coupled to a visit of the interactive education activity for primary school on soil “Scava scava: Kosmos Boden” organised by the South Tyrol Museum of Nature, a good example of link between soil science and society.

Yazd University, Iran

Student association of soil science of Yazd University held the first world day meeting in collaboration with National Salinity Research Center (NSRC).
Both departments (Soil Science Department of Yazd University and NSRC) are young institutions mainly working on problem affected (saline and polluted) soils.
At this meeting speakers from Tarbiat Modares University (TMU), Yazd University and NSRC stated their comments about the challenges in soil science at national and local scales. The speakers and their topic of presentations were:
• Dr. M.J. Malakouti; Emeritus Professor, TMU, The role of improving soil quality in improving the common health of society.
• Dr. M. Akhavan Ghalibaf; Assistant Professor, Yazd University. Yazd as a pattern of symbiosis with soil.
• Y. Hasheminejhad; Staff Member, NSRC, Salinity a challenge or opportunity.
• Y. Hasheminejhad; Staff Member, NSRC, New tools of soil salinity assessment.
• J. Salem; Staff Member, Agricultural Research Center, Food security in relation with soil and water resources.
At the end a fair of NSRC findings, publications and some instrumentation was visited by participants.

วันดินโลก “World Soil Day” สดุดีพระเกียรติในหลวงรัชกาลที่ 9